กำหนดการวันวิสาขบูชา ประจำปี พ.ศ. 2557
กำหนดการวันวิสาขบูชา วันอังคารที่ 13 พฤษภาคม พ.ศ.2557
พิธีหล่อรูปเหมือนทองคำคุณยายอาจารย์มหารัตนอุบาสิกาจันทร์ ขนนกยูง
“ถ้าไม่มีคุณยาย ก็ไม่มีหลวงพ่อ ถ้าไม่มีหลวงพ่อ ก็ไม่มีวัดพระธรรมกาย” จากคำกล่าวนี้ จะเห็นได้ว่า คุณยายมีคุณูปการอย่างสูงสุดต่อวัดพระธรรมกายและลูกหลาน จำนวนนับล้าน ๆ ที่ต่างหลั่งไหลตามมาสร้างบุญสร้างบารมีจนกระทั่งถึงยุคปัจจุบัน
พระมหากัจจายนเถระ
หากว่าบุรุษพึงทำบุญไซร์ ก็ควรทําบุญนั้นให้บ่อยๆ ควรทําความพอใจในบุญนั้น เพราะการสั่งสมบุญเป็นเหตุนําความสุขมาให้
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก รวมพระประวัติ เทิดทูนและอาลัยพระชันษา 100 ปี
วัดป่ากลางทุ่ง
วัดกลางทุ่งและวัดป่าใต้ได้รวมเป็นวัดป่ากลางทุ่ง รวมพื้นที่ทั้งหมดราว ๓๒ ไร่ ๓ งาน ๖๐ ตารางวา จากรูปแบบศิลปะกรรมอุโบสถเก่าสัณนิษฐานว่าสร้างในสมัยรัชกาลที่ ๓ ราวปีพุทธศักราช ๒๓๘๕
พระอัญญาโกณฑัญญะ ผู้รัตตัญญู (๒)
พระอัญญาโกณฑัญญะเถระนี้ เป็นผู้ตรัสรู้ตามพระพุทธองค์ก่อนใคร เป็นผู้มีความเพียรเครื่องก้าวหน้าอย่างแรงกล้า เป็นผู้ได้ธรรมเครื่องอยู่เป็นสุข อันเกิดแต่วิเวกเนืองนิตย์ คุณอันใดที่พระสาวกผู้ทำตามคำสอนของพระศาสดาพึงบรรลุ คุณอันนั้นทุกอย่าง พระอัญญาโกณฑัญญะเถระผู้ไม่ประมาท ได้บรรลุแล้วโดยลำดับ เป็นผู้มีอานุภาพมาก เป็นผู้ได้วิชชา ๓ เป็นผู้ฉลาดในเจโตปริยญาณ เป็นธรรมทายาทของพระพุทธองค์ มีปกติกราบไหว้ซึ่งพระบาททั้งสองของพระศาสดา
วัดใหม่ทองเสน
กลางกรุงเทพมหานครใกล้สี่แยกเกียกาย เขตดุสิต เป็นที่ตั้งของวัดใหม่ทองเสน วัดที่ตั้งขึ้นในสมัยต้นรัชกาลที่ ๓ ในปีพุทธศักราช ๒๓๖๕ ผู้สร้างวัดใหม่ทองเสนคือพระธรรมอุดม ท่านเป็นพระผู้ใหญ่ที่มีผู้คนนับถือมากและเป็นพระคู่เทศก์ปุจฉา วิสัจฉนากับเจ้าพระคุณสมเด็จพุฒาจารย์โต พรหมรังสี
วัดน้อยนพคุณ
วัดน้อยนพคุณ : บนพื้นที่อันร่มรื่นของพื้นที่ดุสิต ถนนพระราม๕ แขวงนครไชยศรี ติดกับบ้านพักของทหารและเอกชน มีวัดหลังน้อยชื่อว่า วัดน้อยนพคุณหรือวัดน้อย
วัดสวนใหญ่
ณ ตำบลวัดชลอ อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี เป็นที่ตั้งของวัดหลายวัดด้วยเป็นชุมชนที่ลุ่มริมแม่น้ำมาแต่โบราณ สลับกับป่าดงทึบจึงมีต้นไม้ใหญ่ที่ขึ้นอยู่ทั่วไป วัดที่มีอยู่ในละแวกนี้คือวัดชะลอ วัดกล้วย และวัดสวนใหญ่
วัดหัตถสารเกษตร
พระยาหัตถสารศุภกิจกับคุณนายจอนได้ซื้อที่ดินไว้ให้ชาวนาเช่าทำนา บริเวณคลองซอยที่ ๕ แล้วได้สร้างกุฏิพระขึ้นเรียกกันว่า วัดกลางคลองห้า ต่อมาเมื่อขอวิสุงคามสีมาได้รับพระราชทานนามวัดจากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวว่า วัดหัตถสารเกษตร