ปริญญาใจ ที่ใฝ่หามานาน
กระทั่งปี พ.ศ.2537 ลูกเริ่มรู้จักหนทางสู่ปริญญาใจเป็นครั้งแรก จากกัลยาณมิตร ซึ่งเป็นคนพิเศษในดวงใจ คือ กัลยาณมิตร เสนิส บุศยพงศ์ชัย หรือ คุณเท่ห์ สามีของลูก (กำลังจะจบ ดร.ปีหน้านี้แล้วค่ะ) เขาชวนให้ลูกรู้จักวัดพระธรรมกาย โดยให้ฟังมงคลชีวิต 38ประการของพระเดชพระคุณหลวงพ่อทัตตชีโว ยิ่งฟังยิ่งโดนใจ
ลูกรัก...แม่ไม่ได้อยู่ค้ำฟ้า
มงคลที่ ๒๑ ไม่ประมาทในธรรม - ชีวิตใหม่ในเพศสมณะ
พระภิกษุสามเณรที่บวชเข้ามาในบวรพระพุทธศาสนา คือ ผู้เห็นภัยในวัฏสงสาร เห็นว่าชีวิตนี้เต็มไปด้วยความทุกข์ ทั้งทุกข์ประจำและทุกข์จร ไม่ว่าจะเกิดเป็นชนชั้นสูง ชั้นกลาง หรือชั้นล่าง ต่างก็มีทุกข์ด้วยกันทั้งสิ้น เพราะฉะนั้น จึงสละเพศฆราวาส ออกบวชเป็นบรรพชิต ปลงผมและหนวด ละทิ้งเครื่องนุ่งห่มที่มีราคาของคฤหัสถ์
เข็นครกขึ้นป.โท-ป.เอก
ปริญญาตรีสมัยนี้ไม่พอแล้ว ต้องต่อโท ต่อเอก พูดดูง่าย แล้วเรียนจริงจะยากขนาดไหน
มงคลที่ ๓๔ ทำพระนิพพานให้แจ้ง - ผู้อยู่จบพรหมจรรย์
ในที่สุดแห่งพระธรรมเทศนา เมตตคูก็ได้สำเร็จเป็นพระอรหันต์ เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ ทั้งวิชชา๓ วิชชา๘ อภิญญา๖ วิโมกข์๘ จรณะ๑๕ ท่านได้บรรลุหมด รู้แจ้งเห็นแจ้งแทงตลอดในคำสอนของพระบรมศาสดา และได้บวชแบบเอหิภิกขุอุปสัมปทา โดยพระพุทธองค์ได้เมตตาประทานการบวชให้
บวชไปนิพพาน
เพศนักบวชคือเพศอันประเสริฐ ไม่ใช่ว่าใครจะมาอยู่ในเพศนี้อย่างง่าย ๆต้องมีบุญมีบารมี ต้องบำเพ็ญเนกขัมมบารมีมาข้ามชาติ ต้องมีคุณสมบัติครบถ้วนบริบูรณ์จึงจะมาบวชได้
โดโด้ เบื่อวงการบันเทิง หันหน้าเข้าหาธรรมะ
พระภัททกาปิลานี เกิดในตระกูลดีแต่มีกลิ่นตัวแรง
ทองคำเป็นวัตถุธาตุที่มนุษย์ทุกยุคสมัยยอมรับว่าสูงค่า สาธุชนผู้ใจบุญจึงนิยมนำทองคำมาเป็นเครื่องสักการะบูชาแด่บุคคลที่ควรบูชา เช่นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าและพระสงฆ์สาวก ดังหลักฐานที่มีในพระไตรปิฎก
จาก " ไอที " สู่ " ไอธรรม "
พระภิกษุรูปนี้โปรไฟล์ไม่ธรรมดา.. ท่านมีดีกรีดอกเตอร์จาก NTNU ซึ่งเป็นมหาวิทยาลัยใหญ่ที่สุดและมีชื่อเสียงโด่งดังที่สุดด้านวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีในประเทศนอร์เวย์ ทำให้หลายคนอยากรู้ว่าท่านคิดอย่างไรถึงมาบวช เราจึงไปเสาะหาความจริงมาเล่าสู่กันฟัง
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 58
ท้าวเธอทรงปลอบพระนางอุทุมพรให้ทรงคลายพระปริวิตก แล้ว ก็ทรงครุ่นคิดหาปริศนาข้อใหม่ที่จะใช้ทดสอบปัญญาราชบัณฑิตของพระองค์อีก ครั้ง จนกระทั่งวันหนึ่ง ท้าวเธอก็ทรงดำริถึงปัญหาข้อหนึ่งขึ้นมาได้ นั่นคือปัญหาว่า ระหว่างบุคคลผู้ด้อยปัญญา แต่สมบูรณ์ด้วยยศ และโภคทรัพย์ กับบุคคลผู้เปี่ยมด้วยปัญญาแต่ด้อยยศศักดิ์ นักปราชญ์ทั้งหลายสรรเสริญผู้ใด ว่าเป็นผู้ประเสริฐกว่ากัน