พุทธบุตรต้องสวมหัวใจความเป็นพระแท้ด้วย “สัมมาอะระหัง”
ช่วงนี้เป็นฤดูกาลแห่งการเข้าพรรษา ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่สำคัญในการฝึกฝนอบรมตนเองของพระภิกษุให้เป็นพระแท้ที่สมบูรณ์พร้อมทั้งกิจวัตรกิจกรรม เพื่อนำพาไปสู่การทำให้แจ้งซึ่งพระนิพพาน โดยเฉพาะการฝึกฝนอบรมจิตถือเป็นการฝึกที่สำคัญที่สุดของพระ เพราะจิตที่สะอาดผ่องใสย่อมส่งผลให้ศีล สมาธิ ปัญญา และสมณสัญญาเต็มเปี่ยมบริบูรณ์ ซึ่งสิ่งที่จะช่วยให้การฝึกจิตเป็นไปอย่างก้าวหน้า รวดเร็ว ต้องอาศัยการภาวนา “สัมมาอะระหัง” กำกับตลอดเวลา
ยอดผู้สมัครธรรมศึกษาเพิ่มกว่า 4 แสนคน
สำนักงานแม่กองธรรมสนามหลวง เปิดเผยยอดผู้สมัครสอบธรรมศึกษาระดับชั้น ตรี โท และเอก เพิ่มมากกว่าปีที่แล้วกว่า 4 แสนคน
พระศรีอริยเมตไตรย์สัมมาสัมพุทธเจ้า ตอนที่ 18 พระอชิตะได้รับพุทธพยากรณ์
พระสมณโคดมสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงประทานพุทธพยากรณ์แก่พระอชิตะว่า “ท่านอชิตภิกษุรูปนี้ จักได้ตรัสรู้ธรรมเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์สุดท้ายของภัทรกัปนี้
สรภชาดก ชาดกว่าด้วยละมั่งทำคุณแก่พระราชา
พระเจ้าพรหมทัตรู้สึกเสียหน้าที่ตนทำให้เจ้าละมั่งหนีไปได้ พระองค์ทรงถือพระขรรค์แล้วทรงวิ่งตามละมั่งไปถึง ๓ โยชน์ และได้ไปตกบ่อลึกเป็นเหวประมาณ ๖๐ ศอก ต่อมาพญาละมั่งได้วกกลับมาช่วยพระองค์ให้ขึ้นจากบ่อน้ำ และให้พระราชาขึ้นประทับบนหลังพาออกจากป่ามาส่งลง ณ ที่ไม่ห่างเสนา
ติวเข้มเคลื่อนกองทัพธรรมสู่ ร.ร.ทั่วประเทศ พร้อมขยายผลให้เด็กได้สอบนักธรรม
ภาษาบาลีและสันสกฤตมีความสำคัญอย่างไร
ภาษาไทย แม้จะเป็นภาษาคนละตระกูลกับภาษาบาลีและสันสกฤต แต่ก็รับเอาคำบาลีและสันสกฤตมาใช้ในภาษาไทยไม่น้อย อาจกล่าวได้ว่ามากกว่าภาษาอื่นๆ ที่นำมาใช้ในภาษาไทยในปัจจุบัน เช่น ภาษาอังกฤษ
ผลการปฏิบัติธรรม พระบุญรักษ์ คุณธีโร
อยู่ๆก็มีดวงแก้วโปร่งใสใหญ่ขนาดลูกเทนนิส ลอยมาจากที่ที่ลึกมากๆ ตอนนั้นใจสบาย
มส.มีมติแต่งตั้งพระสังฆาธิการ
คณะกรรมการมหาเถรสมาคม มีมติแต่งตั้งพระสังฆาธิการในร่วมถึงให้สำนักปฎิบัติธรรมจังหวัดทั่วประเทศสวดมนต์ข้ามปี 2553 ตามแนวคิด สุขใจ ปีใหม่วิถีพุทธ หยุดน้ำเมา
โดโด้ เบื่อวงการบันเทิง หันหน้าเข้าหาธรรมะ
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 58
ท้าวเธอทรงปลอบพระนางอุทุมพรให้ทรงคลายพระปริวิตก แล้ว ก็ทรงครุ่นคิดหาปริศนาข้อใหม่ที่จะใช้ทดสอบปัญญาราชบัณฑิตของพระองค์อีก ครั้ง จนกระทั่งวันหนึ่ง ท้าวเธอก็ทรงดำริถึงปัญหาข้อหนึ่งขึ้นมาได้ นั่นคือปัญหาว่า ระหว่างบุคคลผู้ด้อยปัญญา แต่สมบูรณ์ด้วยยศ และโภคทรัพย์ กับบุคคลผู้เปี่ยมด้วยปัญญาแต่ด้อยยศศักดิ์ นักปราชญ์ทั้งหลายสรรเสริญผู้ใด ว่าเป็นผู้ประเสริฐกว่ากัน