จะมีไหม "ทฤษฎีสรรพสิ่ง" อธิบายทั้งจักรวาล
บ้านกัลยาณมิตรพาชีวิตสว่างไสว
ธรรมอย่างหนึ่งที่มีอุปการะมาก ที่เป็นไปเพื่อความเกิดขึ้นแห่งอริยมรรค อันประกอบด้วยองค์ ๘ คือความเป็นกัลยาณมิตร เพราะบุคคลผู้มีกัลยาณมิตร พึงหวังได้ว่า จักเจริญในอริยมรรคมีองค์ ๘ และจะกระทำให้มากในอริยมรรคนั้น ซึ่งเป็นเหตุปัจจัยในการบรรลุพระนิพพาน
ความสว่างของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
หิ่งห้อยนั้น ส่งแสงสว่างอยู่ชั่วเวลาพระอาทิตย์ยังไม่ขึ้น เมื่อพระอาทิตย์ขึ้นไปแล้ว หิ่งห้อยนั้นก็อับแสงและไม่สว่างได้เลย
มงคลที่ ๕ มีบุญวาสนามาก่อน - สมบัติเคียงคู่ผู้มีบุญ
จะเห็นได้ว่า ใครมีบุญ สมบัติจะไปอยู่กับคนนั้น นายควาญช้างเป็นผู้สั่งสมบุญไว้ดีแล้วในกาลก่อน บุญนั้นจึงส่งผลให้เขาได้เป็นพระราชา เหมือนดังที่พระบรมศาสดาได้ตรัสพระคาถาในสิริชาดก ติกนิบาตว่า
มงคลที่ ๒๑ ไม่ประมาทในธรรม - สิ่งที่พึงพิจารณาบ่อยๆ
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงมีพุทธ ประสงค์ให้พุทธบริษัททั้งหลาย หมั่นเจริญมรณานุสติอยู่เนืองๆ ชนิดทุกลมหายใจ เข้าออก เพราะชีวิตมนุษย์นั้นสั้นยาว เพียงแค่ลมหายใจเข้าออกที่ปลายจมูกเท่านั้น ไม่ได้ยืนยาวอย่างที่เรานึกคิดกันเอง การพิจารณาถึงความตายนี้ เป็นสิ่งที่พวกเราต้องพิจารณาโดยแยบคาย พิจารณาบ่อยๆ
อานิสงส์เจริญเมตตา
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย 11 ประการ คือ 1. หลับก็เป็นสุข 2. ตื่นก็เป็นสุข.....
มหาสมัยสูตรครั้งที่ 3 (ตอนภพมารสะดุ้ง)
เราจะบอกมลทินอันยิ่งกว่ามลทินนั้น อวิชชาเป็นมลทินอย่างยิ่ง ภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลาย เมื่อละมลทินนั้นได้แล้ว ย่อมเป็นผู้หมดจด
พุทธปาฏิหาริย์ ๓,๕๐๐ อย่าง
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สัตว์ทั้งหลายมีประมาณเท่าใด ไม่มีเท้าก็ดี ๒ เท้าก็ดี ๔ เท้าก็ดี มีเท้ามากก็ดี มีรูปก็ดี ไม่มีรูปก็ดี มีสัญญาก็ดี ไม่มีสัญญาก็ดี มีสัญญาก็ไม่ใช่ ไม่มีสัญญาก็ไม่ใช่ พระตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า บัณฑิตกล่าวว่าเป็นยอดของสัตว์เหล่านั้น
สิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ควรบูชา
ผู้ใดพึงบูชาพระสัมมาสัมพุทธเจ้าผู้เป็นนายกของโลก ยังดำรงพระชนมชีพอยู่ก็ดี พึงบูชาพระบรมธาตุแม้ประมาณเท่าเมล็ดพันธุ์ผักกาด แม้พระองค์ท่านนิพพานแล้วก็ดี เมื่อจิตอันเลื่อมใสของผู้นั้นเสมอกัน บุญก็มีผลมากเสมอกัน เพราะฉะนั้น ท่านทั้งหลายจงทำสถูปบูชาพระบรมธาตุของพระชินเจ้าเถิด
มงคลที่ ๒ คบบัณฑิต - สัมมาทิฏฐิ ( ๔ )
สำหรับตอนนี้ มีเรื่องในอดีตชาติของท่านอุรุเวลกัสสปะมาเล่าต่อจากครั้งที่แล้ว ที่พระพุทธองค์ตรัสไว้ว่า ไม่ใช่เฉพาะในภพชาตินี้เท่านั้น ที่พระองค์ทำลายความเห็นผิดของท่านอุรุเวลกัสสปะ