นกปากซ่อมกับหอยกาบ
บทความให้กำลังใจในการดำเนินชีวิตวันนี้ เราอย่าเป็นคนถือทิฐิมานะ ดื้อดึงจะเอาชนะให้ได้ คนอย่างนั้นเป็นคนไม่น่ารัก ไม่มีใครอยากคบด้วย และจะทำเรื่องเล็กให้กลายเป็นเรื่องใหญ่ มังกรสอนใจ
สธ.เตือนระวังกระเช้าปีใหม่หมดอายุ
กระทรวงสาธารณสุข เตือนร้านค้าหากจำหน่ายกระเช้าปีใหม่หมดอายุ มีโทษทั้งจำและปรับ
สภาพของเปรตแต่ละชนิด
เปรตชิ้นเนื้อ ครั้งหนึ่ง พระมหาโมคคัลลานเถระได้เห็นชิ้นเนื้อลอยอยู่ในอากาศ พวกแร้งบ้าง นกตะกรุมบ้าง ต่างพากันโผถลาตามจิกทึ้งชิ้นเนื้อนั้น และชิ้นเนื้อนั้นก็ส่งเสียงร้องครวญครางอย่างน่าสงสาร จึงคิดว่าน่าอัศจรรย์เป็นนักหนา ต่อมาได้กราบทูลให้พระพุทธองค์ทรงทราบ ซึ่งสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงเล่าประวัติของเปรตตนนี้ว่า
คนแคว้นฉีกังวลถึงฟ้า
มัวหวังวันข้างหน้า ก็มีแต่จะละลาย อันใดยังไม่มาถึง อันนั้นก็ยังไม่มีรู้อย่างนี้แล้ว เมื่อมีฉันทะเกิดขึ้น คนฉลาดที่ไหนจะปล่อยให้หายไปเปล่า
วิสาขบูชา ฤกษ์ดีหนุ่มสาวชาวพุทธตั้งใจ งดเหล้า ลดบุหรี่
วัดภาวนาปาล์มบีช จัดพิธีจัดพิธีจุดเทียนใจไฟนิรันด์อนันตชัย
วัดภาวนาปาล์มบีช ประเทศสหรัฐอเมริกา จัดพิธีจุดเทียนใจไฟนิรันด์อนันตชัย และพิธีถวายยารักษาโรค
คุ้มค่าทุกนาที ทุ่มชีวีบอกบุญองค์พระ
เมื่อวาระแห่งการปิดเจดีย์ใกล้เข้ามาในระยะประชิด ขุนรบทุกทิศจึงทุ่มเทกันสุดๆ วัดพระธรรมกายมินเนโซต้า สหรัฐอเมริกาก็ไม่ยอมแพ้ พระอาจารย์และเจ้าหน้าที่ต่างผนึกหัวใจเป็นดวงเดียว ร่วมสร้างประวัติศาสตร์ที่โลกต้องจารึก โดยมีสโลแกนเฉพาะกิจคือ “คุ้มค่าทุกนาที ทุ่มชีวีบอกบุญองค์พระ”
หลักฐานธรรมกาย ในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๘)
ในช่วงสิ้นปีที่ผ่านมา คณะผู้บริหารและนักวิจัยได้เข้าร่วมการประชุมทางไกลข้ามทวีป (Video Teleconference) กับทีมงานวิจัยที่ปฏิบัติหน้าที่ภาคสนามอยู่ในหลายประเทศ เช่น ประเทศอังกฤษ สหรัฐอเมริกาจีน อินเดีย ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และนอร์เวย์ผลสรุปจากที่ประชุมมีดังนี้...
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๔)
ในชั้นนี้โดยรวมแล้วเราพบหลักฐานธรรมกายในประเทศไทยทั้งหมด ๑๔ ชิ้น แบ่งเป็นศิลาจารึก ๖ หลัก จารึกลานเงิน ๑ ชิ้นคัมภีร์จารึกใบลานหนังสือพับสารวม ๖ คัมภีร์และในรูปแบบหนังสืออีก ๑ เล่ม
ต้นบัญญัติมารยาทไทย ตอนที่ ๒ บ่อเกิดของมารยาทไทย หมวดที่ ๑ สารูป
ถ้าพูดภาษาชาวบ้านก็เกี่ยวกับการรักษารูปของเรา คือ เรื่องการแต่งเนื้อแต่งตัวและกิริยามารยาทต่าง ๆ ซึ่งของพระภิกษุท่านว่าไว้อย่างนี้ ข้อ ๑-๒ “ภิกษุพึงทำความศึกษาว่า เราจักนุ่ง-จักห่มให้เรียบร้อย”