มโหสถบัณฑิต ตอนที่ ๘ ( แก้ปมปริศนา )
ในครั้งนี้ ยังคงนำเรื่องมโหสถบัณฑิตผู้มีปัญญาเฉียบแหลมมาให้ได้ติดตามกันต่อ แม้มโหสถบัณฑิตอายุยังน้อย แต่ก็สามารถแก้ไข หรือพิจารณาอรรถคดีต่างๆ ได้ถูกต้องแม่นยำอย่างน่าอัศจรรย์ จนชนะใจอำมาตย์ว่า บุคคลนี้แหละที่พระราชาทรงสุบินนิมิตว่า ทรงเห็นไฟกองเล็กๆ ผุดขึ้นท่ามกลาง ไฟกองใหญ่ ๔ กอง ไฟกองเล็กนี้สว่างไสว พุ่งขึ้นไปได้ถึงพรหมโลกทีเดียว
มโหสถบัณฑิต ตอนที่ ๒๐ ( อย่าบอกความลับแก่ใคร )
เรื่องมโหสถบัณฑิต ในตอนนี้เป็นเรื่องของความลับว่า ควรเปิดเผยแก่ใคร ไม่ควรเปิดเผยแก่ใครบ้าง เมื่อพูดถึงความลับ หมายถึง เป็นสิ่งที่ไม่ควรแพร่งพราย เพราะหากมีคนอื่นรู้ และแพร่ขยายออกไป อาจเป็นผลเสียย้อนกลับมา เป็นปัญหาที่แก้ไม่ได้ และอาจเป็นผลร้ายถึงชีวิต
สมาธิมีกี่ประเภท?
สมาธิจำแนกตามฐานที่ตั้งของใจ
เวสสันดรชาดก ตอนที่ ๙ ( ชูชกขอโอรสธิดา )
บุคคลไม่อาจให้สิ่ง ๓ อย่างเต็มได้ คือ ไฟเต็มด้วยเชื้อ มหาสมุทรเต็มด้วยน้ำ คนมีความอยากมากเต็มด้วยปัจจัย
มงคลที่ ๒ คบบัณฑิต - บัณฑิตที่แท้จริง
ธรรมดาบัณฑิต เห็นคนไขน้ำเข้านา เห็นช่างศรดัดลูกศร ให้ตรง เห็นช่างถากไม้แล้ว ย่อมถือเอาเหตุนั้นเป็นอารมณ์ มีปัญญารู้แจ้งแทงตลอดในอรหัตตผลได้ เหมือนเรื่องบัณฑิตสามเณร
มงคลที่ ๒ คบบัณฑิต - คบบัณฑิตพิชิตปัญหา
ในเวลาเย็น ทั้ง ๔ ท่าน ต่างออกจากที่พักของตน และได้พบกันโดยบังเอิญ ด้วยบุญเก่าที่เคยเกิดเป็นเพื่อนกันมาก่อน ทำให้รู้สึกรักใคร่ชอบใจกันเป็นพิเศษ จึงพูดคุยสนทนากันอย่างถูกคอ ทั้ง ๔ ท่านได้ตั้งคำถามขึ้นมาว่า การสมาทานอุโบสถศีลของพวกเรา ใครจะเป็นผู้มีศีลมากกว่ากัน ต่างฝ่ายต่างก็คิดว่า ตนมีศีลมากกว่าคนอื่น
มงคลที่ ๑๐ มีวาจาสุภาษิต - พูดดีเป็นศรีแต่ตัว
เรื่องราวของนายพรานผู้เป็นบัณฑิต ที่ถูกลูกเศรษฐีทั้ง ๔ คน มาขอชิ้นเนื้อที่ตนหามาได้ โ็ดยที่ลูกเศษฐีจะผลัดกันเข้ามาขอทีละคน ดูว่าใครจะได้เนื้อส่วนไหน แล้วนายพรานได้ใช้วาจาที่ลูกเศรษฐีแต่ละคนพูดนั้นเป็นเครื่องตัดสินว่าจะให้ส่วนใดของชิ้นเนื้อ หลังจากเหตุการณ์นี้ผ่านพ้นไป นายพรานพร้อมครอบครัวถึงกับได้เข้าไปอยู่ที่คฤหาสน์ เพราะด้วยวาจาของตน