สวรรค์ชั้นดาวดึงส์
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ เหมือนถูกเชิญมาประดิษฐานไว้ในสวรรค์ ธรรม ๔ ประการเป็นไฉน คือ กายสุจริต วจีสุจริต มโนสุจริต และสัมมาทิฏฐิบุคคล ผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการนี้ จะถูกเชิญมาประดิษฐานในสวรรค์
คำว่าอจินไตยหมายถึงอะไร ?
อจินไตย แปลว่า เรื่องที่ไม่ควรคิด เพราะเกินภูมิปัญญาของมนุษย์ที่จะใช้ความคิดปกติไปคิดได้ คิดแล้วจะมีส่วนแห่งความเป็นบ้าการตั้งประเด็นปัญหา รวบรวมข้อมูล ทดลองวิจัย สุดท้ายก็สรุป ใช้ไม่ได้กับเรื่องอจินไตย
วิธุรบัณฑิต บำเพ็ญสัจบารมี (๔)
มนุษย์ต่างเสาะแสวงหาความรู้ต่างๆ จากตำรับตำราบ้าง จากประสบการณ์ของคนรุ่นก่อน ผนวกกับประสบการณ์ของตัวเองบ้าง
มโหสถบัณฑิต ตอนที่ ๑๙ ( แก้ปัญหาเทพ )
ครั้งนี้ถึงตอนที่มโหสถบัณฑิตมารับราชการตามเดิมแล้ว และจะต้องตอบคำถามที่พระราชาทรงสดับมาจากเทวดา พระราชาได้ตรัสถามมโหสถบัณฑิตว่า เทวดาผู้สิงสถิตอยู่ที่เศวตฉัตร ได้ถามปัญหา ๔ ข้อ กับเรา เราไม่รู้คำตอบของปัญหา ๔ ข้อนั้น อาจารย์ทั้ง ๔ คน ก็ไม่รู้ เพราะฉะนั้น ท่านจงช่วยกล่าวแก้ปัญหาทั้ง ๔ ข้อ
ชัยชนะครั้งที่ ๖ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (ตอนที่ ๒ ชนะสัจจก-นิครนถ์)
คำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ซึ่งเป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบานแล้ว เป็นสิ่งที่มีค่าเอนกอนันต์ ทุกถ้อยคำที่พระพุทธองค์ทรงแนะนำสั่งสอน ชี้แนะหนทางสว่าง
ตอนนั่งสมาธิทำไมจิตใจมักคิดถึงแต่เรื่องไม่ดี
เราเคยสะสมความคิดไม่ดีมาก่อน พอใจสงบเข้า ก็เหมือนกรอฟิล์มภาพยนตร์ย้อนกลับ ของไม่ดีผุดขึ้นมาเหมือนคุ้ยกองขยะ พอเราทำสมาธิก็เหมือนเราโกยขยะให้หลุดออกไปจากใจ
ทิพยสถานสำหรับผู้มีบุญ
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ ย่อมเกิดในสวรรค์ เหมือนถูกเชิญมาเกิด ธรรม ๔ ประการคือ เป็นผู้งดเว้นจากการฆ่าสัตว์ เว้นจากการลักทรัพย์ เว้นจากการประพฤติผิดในกาม เว้นจากการพูดเท็จ บุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการนี้แล ย่อมบังเกิดในสวรรค์เหมือนถูกเชิญมาเกิด
บวช..คำตอบสุดท้ายของชีวิตในสังสารวัฏ
ท่านพระสารีบุตร อัครสาวกเบื้องขวานับเป็นตัวอย่างที่น่าอัศจรรย์ของผู้เห็นภัยในสังสารวัฏนอกจากจะละสมบัติมากถึง ๘๗ โกฏิออกบวชแล้วยังชวนน้องสาว ๓ คน คือ นางจาลา นางอุปจาลา นางสีสุปจาลาและน้องชายอีก ๒ คน คือ จุนทะ อุปเสนะ ให้บวชทั้งหมด
โอวาทปาฏิโมกขาทิปาโฐ
มงคลที่ ๒ คบบัณฑิต - บัณฑิตที่แท้จริง
ธรรมดาบัณฑิต เห็นคนไขน้ำเข้านา เห็นช่างศรดัดลูกศร ให้ตรง เห็นช่างถากไม้แล้ว ย่อมถือเอาเหตุนั้นเป็นอารมณ์ มีปัญญารู้แจ้งแทงตลอดในอรหัตตผลได้ เหมือนเรื่องบัณฑิตสามเณร