พระศรีอริยเมตไตรย์สัมมาสัมพุทธเจ้า ตอนที่ 91 บารมี อุปบารมี ปรมัตถบารมี
พระโพธิสัตว์ทั้งหลายกว่าจะได้มาตรัสรู้ธรรมเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้านั้น พระโพธิสัตว์จะต้องบ่มบารมีทั้งสามสิบทัศให้แก่รอบแบบย้ำๆซ้ำๆ
ใกล้คนดีก็ได้ดี
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุเหล่าใดถึงพร้อมแล้วด้วยศีลสมาธิ ปัญญา วิมุตติ วิมุตติญาณทัสสนะ เป็นผู้กล่าวสอนให้รู้แจ้ง ให้เห็นแจ้ง ให้สมาทาน ให้อาจหาญ ให้ร่าเริง เป็นผู้สามารถบอกพระสัทธรรมได้อย่างดี
มงคลที่ ๒๓ มีความถ่อมตน - พระทัพพมัลลบุตร (๖)
ยอดนักสร้างบารมีทั้งหลายในกาลก่อน กว่าที่ท่านจะประสบความสำเร็จในชีวิตได้นั้น ต้องชิงช่วงชีวิตในการสร้างบารมี เป็นผู้ที่ไม่ประมาทในขณะที่ผู้อื่นประมาทอยู่ เป็นผู้ตื่นอยู่ในขณะที่ผู้อื่นหลับใหล การสร้างบารมีแบบชิงช่วงนี้เป็นสิ่งที่ทำได้ยาก เพราะต้องอาศัยกำลังใจอันสูงยิ่ง ไม่ย่อท้อต่ออุปสรรคที่เกิดขึ้น
มงคลที่ ๙ มีวินัย - ศีล เส้นทางสู่ความเป็นมนุษย์
ศีล เป็นคุณธรรมที่จะคุ้มครองรักษากาย วาจา ใจ ของเราให้เรียบร้อยสมบูรณ์ เป็นคุณธรรมเบื้องต้นที่จะส่งให้เราเข้าถึงสมาธิ ปัญญา ซึ่งเป็นหนทางแห่งการบรรลุมรรคผลนิพพาน การรักษาศีลมีจุดประสงค์หลายประการด้วยกัน อย่างน้อยก็เป็นเกราะคุ้มกันชีวิตของเราในปัจจุบันชาตินี้ ไม่ให้พบกับความทุกข์ ความเดือดร้อน และความเสื่อมเสียอันสืบเนื่องจากการเบียดเบียนผู้อื่น
การพัฒนาบุคคลากรด้วยปัญญา 3 ฐาน
ดร.วรภัทร์ ภู่เจริญ ได้เสนอวิธีการพัฒนาบุคลากรด้วยหลักปัญญา 3 ฐาน คือ ฐานกาย ฐานใจ ฐานความคิด ซึ่งแท้จริงแล้วนำมาจากหลักในพระพุทธศาสนานั่นเอง คือ ศีล สมาธิ ปัญญา ในเชิงบริหารนั่นเอง
พุทธบุตรต้องสวมหัวใจความเป็นพระแท้ด้วย “สัมมาอะระหัง”
ช่วงนี้เป็นฤดูกาลแห่งการเข้าพรรษา ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่สำคัญในการฝึกฝนอบรมตนเองของพระภิกษุให้เป็นพระแท้ที่สมบูรณ์พร้อมทั้งกิจวัตรกิจกรรม เพื่อนำพาไปสู่การทำให้แจ้งซึ่งพระนิพพาน โดยเฉพาะการฝึกฝนอบรมจิตถือเป็นการฝึกที่สำคัญที่สุดของพระ เพราะจิตที่สะอาดผ่องใสย่อมส่งผลให้ศีล สมาธิ ปัญญา และสมณสัญญาเต็มเปี่ยมบริบูรณ์ ซึ่งสิ่งที่จะช่วยให้การฝึกจิตเป็นไปอย่างก้าวหน้า รวดเร็ว ต้องอาศัยการภาวนา “สัมมาอะระหัง” กำกับตลอดเวลา
มงคลที่ ๓๑ บำเพ็ญตบะ - เป็นผู้ประเสริฐด้วยการปฏิบัติ
พระอินทร์ได้ฟังคำอธิบายเช่นนั้น ทรงหายสงสัยในการบำเพ็ญตบะของพระฤๅษี ด้วยตระหนักชัดแล้วว่า ท่านไม่ได้ปรารถนาตำแหน่งท้าวสักกะ หรือความเป็นพระราชา มหาเศรษฐีเลย หากท่านมีความปรารถนาที่ยิ่งใหญ่ คือ ปรารถนา อนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ อันประเสริฐ ซึ่งยากที่มนุษย์ธรรมดาจะกล้าคิดกล้าทำ
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 20
สิริวัฒกะเศรษฐีกล่าว พลางยื่นท่อนไม้ตะเคียนคืบหนึ่งส่งให้มโหสถดู “พระราชาทรงมีพระบรม ราชโองการมา ให้พวกเราพิจารณาท่อนไม้นี้ว่า ทางไหนเป็นโคน ทางไหนเป็นปลาย แม้นไม่รู้จะทรงปรับสินไหม 1000 กหาปณะ เราทุกคนในที่นี้ ต่างจนปัญญาไปตามๆกัน ยังไม่อาจจะชี้ได้เลย ว่าทางไหนเป็นโคน ทางไหนเป็นปลาย ลูกพอจะรู้ได้ไหมล่ะ”
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 59
พระเจ้าวิเทหราชทรงสดับแล้ว ก็ทรงหนักพระทัยอยู่มิใช่น้อย เพราะตัวอย่างของโครวินทเศรษฐีที่ท่านเสนกะยกอ้างมานั้น พระองค์ก็ทรงทราบดี แม้นใครๆก็รู้จักทั่วบ้านทั่วเมือง เป็นข้อยืนยันมั่นคงว่า บุคคลผู้ไม่มีศิลปะ ไม่มีพวกพ้อง แม้รูปร่างจะไม่สมประกอบก็ตามที แต่ขอให้มีทรัพย์เพียงอย่างเดียวเท่านั้น อำนาจของทรัพย์ย่อมอำนวยสุขให้อย่างมหาศาล
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 84
มโหสถบัณฑิตแลเห็นอำมาตย์นั้นแต่ไกล ก็รู้ทันทีว่าอำมาตย์ผู้นั้นถูกพระราชาใช้ให้มาตาม หาตน ครั้นแล้วจึงดำริต่อไปว่า “บัด นี้ได้เวลาที่เราจะกลับคืนสู่มิถิลานครเสียที เมื่อกลับไปถึงแล้ว เราก็จะได้บริโภคโภชนาหารรสเลิศที่อมราเทวีจัดเตรียมไว้เพื่อต้อนรับ”