พุทธบุตรต้องสวมหัวใจความเป็นพระแท้ด้วย “สัมมาอะระหัง”
ช่วงนี้เป็นฤดูกาลแห่งการเข้าพรรษา ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่สำคัญในการฝึกฝนอบรมตนเองของพระภิกษุให้เป็นพระแท้ที่สมบูรณ์พร้อมทั้งกิจวัตรกิจกรรม เพื่อนำพาไปสู่การทำให้แจ้งซึ่งพระนิพพาน โดยเฉพาะการฝึกฝนอบรมจิตถือเป็นการฝึกที่สำคัญที่สุดของพระ เพราะจิตที่สะอาดผ่องใสย่อมส่งผลให้ศีล สมาธิ ปัญญา และสมณสัญญาเต็มเปี่ยมบริบูรณ์ ซึ่งสิ่งที่จะช่วยให้การฝึกจิตเป็นไปอย่างก้าวหน้า รวดเร็ว ต้องอาศัยการภาวนา “สัมมาอะระหัง” กำกับตลอดเวลา
เศษกรรมนำให้เป็นสัตว์ดิรัจฉาน
ชีวิตของสัตว์เดียรัจฉานเป็นชีวิตที่ทุกข์ทรมาน น่าสงสาร หาความสุขได้ยาก ที่เป็นผลเช่นนี้ ก็เพราะผลแห่งกรรมชั่วที่ตนกระทำไว้ในอดีตทั้งสิ้น
มงคลที่ ๒๑ ไม่ประมาทในธรรม - ชีวิตใหม่ในเพศสมณะ
พระภิกษุสามเณรที่บวชเข้ามาในบวรพระพุทธศาสนา คือ ผู้เห็นภัยในวัฏสงสาร เห็นว่าชีวิตนี้เต็มไปด้วยความทุกข์ ทั้งทุกข์ประจำและทุกข์จร ไม่ว่าจะเกิดเป็นชนชั้นสูง ชั้นกลาง หรือชั้นล่าง ต่างก็มีทุกข์ด้วยกันทั้งสิ้น เพราะฉะนั้น จึงสละเพศฆราวาส ออกบวชเป็นบรรพชิต ปลงผมและหนวด ละทิ้งเครื่องนุ่งห่มที่มีราคาของคฤหัสถ์
ลักษณะมหาบุรุษ (1)
ความมีวรรณะงาม ความมีเสียงเพราะ ความมีทรวดทรงดี ความมีรูปสวย ความเป็นใหญ่ ความมีบริวาร อิฐผลทั้งหมดนั้น บุคคลย่อมได้ด้วยบุญนิธินี้
World-PEC สำหรับเยาวชนโรงเรียนนานาชาติ
แล้ววันนี้ เราก็มีข่าวแบบอินเตอร์ๆ จากโรงเรียนอินเตอร์ๆ คือ การสอบ World-PEC สำหรับเยาวชนโรงเรียนนานาชาติและโรงเรียนสองภาษาครั้งแรกของโลก
เทอมหน้าอยากให้ลูกเรียนเก่ง ให้ออกกำลังซะบ้าง
รายชื่อหัวหน้าองค์กรเครือข่ายยุวพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก
ได้รับเกียรติจากหัวหน้าองค์กรเครือข่าย ที่เป็นสมาชิกขององค์การยุวพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก(ยพสล.) ประกอบด้วยพระภิกษุ 7 รูป, ภิกษุณี 3 รูป และฆราวาส 30 ท่าน
ชัยชนะครั้งที่ ๖ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (ตอนที่ ๒ ชนะสัจจก-นิครนถ์)
คำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ซึ่งเป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบานแล้ว เป็นสิ่งที่มีค่าเอนกอนันต์ ทุกถ้อยคำที่พระพุทธองค์ทรงแนะนำสั่งสอน ชี้แนะหนทางสว่าง
ลักษณะมหาบุรุษ (๑)
ติรัจฉานภูมิ
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สัตว์ที่จุติจากมนุษย์ไปแล้ว จะกลับมาเกิดในพวกเทวดาหรือมนุษย์มีน้อย โดยที่แท้ สัตว์ที่จุติจากมนุษย์ไปแล้วกลับไปเกิดในนรก ในกำเนิดสัตว์เดรัจฉาน ในเปตติวิสัย มีมากกว่า ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะไม่เห็นอริยสัจ ๔ คือ ทุกข์ ทุกขสมุทัย ทุกขนิโรธ ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เพราะฉะนั้นแล เธอทั้งหลาย พึงกระทำความเพียรเพื่อรู้ตามความเป็นจริงว่า นี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทัย นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา