ศูนย์ปฏิบัติธรรมญี่ปุ่น เปิดคอร์สสอนสมาธิแก่ชาวท้องถิ่น
ศูนย์ปฏิบัติธรรมญี่ปุ่น กรุงโตเกียว ได้เปิดคอร์สสอนสมาธิให้แก่ชาวท้องถิ่น
มงคลที่ ๒๗ มีความอดทน - ขันติและเมตตาพาสู่ดุสิตบุรี
พระราชาเห็นพระนางแสดงความรักต่อพระกุมารมากถึงเพียงนั้น ก็ยิ่งอิจฉา และโกรธเคืองยิ่งขึ้น จึงตรัสว่า “ท่านอย่าชักช้า จงตัดมือตัดเท้าทั้งสองเสีย” เพชฌฆาตก็สับมือตัดเท้าทั้งสองของพระกุมารด้วยขวานอันคมกริบ ธรรมบาลกุมารแม้จะถูกตัดมือตัดเท้าก็ไม่ร้องไห้ ทรงอดกลั้นต่อทุกขเวทนา ด้วยขันติธรรมและเมตตาธรรม
ผู้เฒ่าซ่ายเสียม้า
ขอบคุณทุกท่านที่มีน้ำใจ แต่ทว่าข้าพเจ้ากลับไม่รู้สึกเสียใจด้วยเรื่องนี้ เสียม้าไปแล้ว ไม่แน่อาจเป็นเรื่องดีเรื่องหนึ่งก็ได้
献给一个人
พ่อเป็นคนรักการอ่านมาก ท่านสามารถใช้ภาษาอังกฤษ จีนกลาง จีนกวางตุ้ง และจีนแต้จิ๋วได้เป็นอย่างดี ที่แปลกมากคือ พ่อไม่ชอบอาบน้ำ ล้างมือ เข้าห้องน้ำแล้วไม่ชอบราดน้ำ ชอบอยู่ในที่รกๆ ชอบเก็บของที่เขาทิ้งไว้ตามถนน ถังขยะ เอามาเก็บไว้ในบ้านเฉยๆ
ปลื้ม..เพราะกฐินนี้ “ชิตัง เม” ก่อนใคร ตอน ลูกกตัญญูของแท้มาแล้วครับ
ในช่วงที่ผมหันมาเข้าวัดพระธรรมกายอย่างจริงจัง และได้เข้าใจในเรื่องบุญอย่างลึกซึ้งแล้ว ผมก็มานั่งประมวลผลความคิดจนเกิดวิชั่นแบบเหนือระดับว่า..บุญที่ทำแล้วได้บุญมาก ก็คือ บุญจากการเป็นประธานกฐิน เพราะ 1 ปีมีครั้งเดียว อีกทั้งยังเป็นบุญที่ให้อานิสงส์มาก แบบจัดหนัก
สิ่งที่บรรพบุรุษรอคอย
ความวิบัติอันเป็นโทษทางกาย ๓ ประการคือ การฆ่า การลัก การประพฤติผิดในกาม และโทษทางวาจา ๔ ประการคือ พูดโกหก หยาบคาย ส่อเสียด เพ้อเจ้อ และโทษทางใจ ๓ ประการคือ อภิชฌา พยาบาท มิจฉาทิฏฐิ ย่อมมีวิบากเป็นทุกข์
ใกล้คนดีก็ได้ดี
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุเหล่าใดถึงพร้อมแล้วด้วยศีลสมาธิ ปัญญา วิมุตติ วิมุตติญาณทัสสนะ เป็นผู้กล่าวสอนให้รู้แจ้ง ให้เห็นแจ้ง ให้สมาทาน ให้อาจหาญ ให้ร่าเริง เป็นผู้สามารถบอกพระสัทธรรมได้อย่างดี
มงคลที่ ๙ มีวินัย - ศีล เส้นทางสู่ความเป็นมนุษย์
ศีล เป็นคุณธรรมที่จะคุ้มครองรักษากาย วาจา ใจ ของเราให้เรียบร้อยสมบูรณ์ เป็นคุณธรรมเบื้องต้นที่จะส่งให้เราเข้าถึงสมาธิ ปัญญา ซึ่งเป็นหนทางแห่งการบรรลุมรรคผลนิพพาน การรักษาศีลมีจุดประสงค์หลายประการด้วยกัน อย่างน้อยก็เป็นเกราะคุ้มกันชีวิตของเราในปัจจุบันชาตินี้ ไม่ให้พบกับความทุกข์ ความเดือดร้อน และความเสื่อมเสียอันสืบเนื่องจากการเบียดเบียนผู้อื่น
การพัฒนาบุคคลากรด้วยปัญญา 3 ฐาน
ดร.วรภัทร์ ภู่เจริญ ได้เสนอวิธีการพัฒนาบุคลากรด้วยหลักปัญญา 3 ฐาน คือ ฐานกาย ฐานใจ ฐานความคิด ซึ่งแท้จริงแล้วนำมาจากหลักในพระพุทธศาสนานั่นเอง คือ ศีล สมาธิ ปัญญา ในเชิงบริหารนั่นเอง
พุทธบุตรต้องสวมหัวใจความเป็นพระแท้ด้วย “สัมมาอะระหัง”
ช่วงนี้เป็นฤดูกาลแห่งการเข้าพรรษา ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่สำคัญในการฝึกฝนอบรมตนเองของพระภิกษุให้เป็นพระแท้ที่สมบูรณ์พร้อมทั้งกิจวัตรกิจกรรม เพื่อนำพาไปสู่การทำให้แจ้งซึ่งพระนิพพาน โดยเฉพาะการฝึกฝนอบรมจิตถือเป็นการฝึกที่สำคัญที่สุดของพระ เพราะจิตที่สะอาดผ่องใสย่อมส่งผลให้ศีล สมาธิ ปัญญา และสมณสัญญาเต็มเปี่ยมบริบูรณ์ ซึ่งสิ่งที่จะช่วยให้การฝึกจิตเป็นไปอย่างก้าวหน้า รวดเร็ว ต้องอาศัยการภาวนา “สัมมาอะระหัง” กำกับตลอดเวลา