ยายของลูกทำกรรมใดไว้ จึงต้องป่วยด้วยโรคมากมาย
คุณตาเป็นลูกคุณพระสมัยรัชกาลที่ ๖ มีฐานะดีมาก ท่านชอบยิงนกตกปลาตั้งแต่วัยหนุ่มเมื่อ แต่งงานกับคุณยาย ท่านมีความสุขกันมาก แต่ความสุขนั้นมีระยะเวลาสั้นนักเนื่องจากคุณตาได้ล้มป่วยลงอย่างกะทันหันด้วยวัณโรค และเสียชีวิตด้วยวัยเพียง ๒๕ ปี
นิมิตที่เกิดขึ้นเมื่อถึงวาระสุดท้าย-วงจรชีวิต
คนใกล้ตายเมื่อถึงวาระสุดท้ายจะถอนหายใจ 3 เฮือก มี 2 แบบ คือ แบบรุนแรง และแบบละมุนละไม แบบรุนแรงมักจะไปไม่ค่อยดี
ชีวิตมนุษย์ประเสริฐที่สุด
กิจฺโฉ มนุสฺสปฏิลาโภ การกลับได้อัตภาพเป็นมนุษย์ เป็นการยาก
ชัยชนะครั้งที่ 1 (ตอนที่ 1 ชนะพญามาร)
พระจอมมุนีได้ชัยชนะพญามาร ผู้เนรมิตแขนตั้งพัน มีอาวุธครบมือ ขี่คชสารครีเมขล์พร้อมด้วยเสนามาร มาโห่ร้องกึกก้อง ด้วยธรรมวิธีมีทานบารมีเป็นต้น ด้วยเดชแห่งพุทธชัยมงคลนั้น ขอสรรพมงคลทั้งหลาย จงมีแก่ท่าน...
อนาถบิณฑิกเศรษฐี (มหาเศรษฐีเทพบุตร)
การถวายวิหารแก่สงฆ์เพื่อหลีกเร้นอยู่ เพื่อความสุข เพื่อเพ่งพิจารณา และเพื่อให้เห็นแจ้ง พระพุทธเจ้าทุกๆ พระองค์ทรงสรรเสริญว่า เป็นทานอันเลิศ เพราะเหตุนั้นแล คนผู้ฉลาด เมื่อเล็งเห็นประโยชน์ตน พึงสร้างวิหารอันรื่นรมย์ให้ภิกษุทั้งหลายเถิด
กลิ่นศีล กลิ่นธรรม
ถ้าอยากรู้ว่าเรามีความสะอาดในการกล่าววาจามากน้อยแค่ไหน พระอรรถกถาจารย์ได้วินิจฉัยไว้ ดังนี้ คือ 1. พูดเรื่องไม่จริง 2. มีจิตคิดจะพูดให้ผิดไปจากความจริง 3. พยายามพูดให้ผิดจากความจริง 4. คนฟังเข้าใจความหมายตามที่พูดนั้น
นรก คืออะไร ตายแล้วไปไหน?
ตายแล้วไปไหน...สถานที่ที่มนุษย์และสัตว์ทั้งหลาย ต้องเวียนว่ายตายเกิดมีอยู่ 31ภูมิ หากอยากจะทราบว่า ใครตายแล้วไปไหน หรือ อยากทราบว่า ตัวเราเองเมื่อตายแล้วจะต้องไปอยู่ที่ใด ก็มีวิธีสังเกตง่ายๆ คือ เมื่อตอนยังมีชีวิตอยู่ เราชอบทำอย่างไร พอตายแล้วก็ต้องไปรับผลแห่งการกระทำของตนเองอย่างนั้น เรียกได้ว่า “ตายแล้ว ก็ไปสู่ที่ชอบ...ที่ชอบ”
พระวนวัจฉะผู้อยู่ในป่า
ความเสวยอารมณ์เกิดขึ้นเพราะมโนสัมผัสเป็นปัจจัย เช่นเป็นสุขก็ดี เป็นทุกข์ก็ดี ไม่ใช่ทุกข์ไม่ใช่สุขก็ดี เมื่อเบื่อหน่ายในความเสวยอารมณ์นั้น ย่อมคลายความกำหนัด เมื่อคลายความกำหนัด จิตย่อมหลุดพ้น เมื่อจิตหลุดพ้นแล้ว ก็มีญาณรู้ว่าหลุดพ้นแล้ว พระอริยสาวกย่อมทราบชัดว่าชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์ได้อยู่จบแล้ว กิจอื่นที่ควรทำ ได้ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นอีกเพื่อความเป็นอย่างนี้ มิได้มีอีกต่อไป
วิสาขามหาอุบาสิกา (มหาลดาปสาธน์)
ผู้ที่มาเกิดแล้ว จำจะต้องตายในโลกนี้ ย่อมทำกรรมใดไว้ คือ เป็นบุญและเป็นบาปทั้งสองประการ บุญและบาปนั้นแล เป็นสมบัติของเขา และเขาจะพาเอาบุญและบาปนั้นไปสู่ปรโลก บุญและบาปนั้น ย่อมจะติดตามตัวเขาไป ประดุจเงาติดตามตนไป ฉะนั้น เพราะฉะนั้น บุคคลพึงบำเพ็ญบุญ สะสมกรรมดีไว้เป็นสมบัติในปรโลก เพราะว่า บุญทั้งหลายย่อมเป็นที่พึ่งของสัตว์ทั้งหลาย
วิบากกรรมจะเบาบางลงได้อย่างไร
ชีวิตที่ท่องเที่ยวไปในวัฎสงสาร ไม่มีใครที่ไม่เคยทำบาปอกุศล แม้พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ครั้งเป็นพระบรมโพธิสัตว์ ก็ผิดพลาดทำบาปอกุศล ต้องพลัดไปในอบายภูมิ ไปเกิดเป็นสัตว์เดรัจฉาน มีปรากฎในชาดกหลายพระชาติ