สามเณร ค่ายจองแชมป์ เรียนพระบาลี ทรงโอวาทปาฏิโมกข์
สามเณร ค่ายจองแชมป์ หมู่กุฏิสามเณรเปรียญธรรม วัดพระธรรมกาย ตั้งใจพากเพียร เขียน อ่านบาลี-ไวยกรณ์ และทรงพระปฏิโมกข์ เป็นต้นบุญต้นแบบเป็นเนื้อนาบุญแก่ชาวโลก
สามเณรยุวชนรอบวัด ปี 5 ชวนลูกบวช ช่วงปิดเทอมตุลาคม
"สามเณรยุวชนรอบวัด" ปีที่ 5 ชวนลูกหลานบวช...ปิดภาคเรียนตุลาคม รับสมัครนักเรียนระดับประถมศึกษาปี่ที่ 6 ถึงระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 อบรมระหว่างวันที่ 1 - 27 ตุลาคม พ.ศ.2556 อาคารแจ่มจันทร์ วัดพระธรรมกาย จังหวัดปทุมธานี โทรศัพท์ 083-443-3000, 082-446-4700 www.ธรรมทายาท.com
วันนี้วันที่ 48 นับจากวันเข้าพรรษา : อานุภาพพระธรรมกาย
นับจากวันเข้าพรรษามาได้ 48 วันแล้ว นับกันเป็นวันๆ ไปเลยก็เหลืออีกไม่กี่วันจะออกพรรษาแล้ว พรรษานี้มีชื่อว่า พรรษาแห่งการบรรลุธรรม คำเต็มคือ บรรลุพระธรรมกาย ซึ่งเป็นกายตรัสรู้ธรรม เป็นพระภายในตัวของเราและมนุษย์ทุกคนในโลก ซึ่งเป็นที่พึ่งที่ระลึกอันสูงสุดของเราและของสรรพสัตว์ทั้งหลาย
ชี้ “ธุดงค์ธรรมชัย” ถูกต้องตามหลักพระพุทธศาสนา
พระมหาเถระ-ราชการ-ประชาชน ปลื้ม!! ชี้ “ธุดงค์ธรรมชัย” ถูกต้องตามหลักพระพุทธศาสนา
โครงการสามเณรมัชฌิมธรรมทายาท รุ่นที่ 19
สามเณรมัชฌิมธรรมทายาท รุ่นที่ 19 อบรมระหว่างวันที่ 23 มีนาคม – 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 ณ ศูนย์ฝึกอบรมธรรมทายาท วัดพระธรรมกาย
ความจน - ความรวยในพระพุทธศาสนา
หนึ่งในความยากลำบากที่น่ากลัวที่สุดในการดำเนินชีวิตของคนในระหว่างที่ยังต้องเวียนว่ายตายเกิดก็คือ ความยากจน เพราะว่าความยากจนเป็นสิ่งที่บีบคั้นให้เกิดปัญหาอีกหลายอย่างขึ้นในโลก
อานิสงส์ถวายมะม่วง
ผู้มีจิตเลื่อมใส เมื่อได้ถวายทานในหมู่แห่งภิกษุผู้ปฏิบัติตรง ย่อมได้ผลอันไพบูลย์ ผู้นั้นแล ย่อมไปสู่สวรรค์ บันเทิงอยู่ในสวรรค์ชั้นไตรทิพย์ เสวยผลบุญอันไพบูลย์ เพราะเหตุนั้นแล มนุษย์ผู้ต้องการความสุข ปรารถนาความสุขอันเป็นทิพย์ หรือปรารถนามนุษย์สมบัติอันเลิศ ควรถวายทานเป็นนิตย์ทีเดียว
กรรมใดทำให้พี่ชายต้องมาเสียทีเพื่อน จนถูกดำเนินคดีถูกฟ้องล้มละลายยืดเยื้อมาถึงปัจจุบันนี้
ปัจจุบันลูกสาวคนที่สองอายุ ๑๓ ปีแล้ว คราวใดที่เธอถูกเพื่อนนินทา เธอจะทนไม่ได้อย่างมาก แม้จะไม่แสดงออกที่โรงเรียน แต่จะกลับมาระบายและบ่นกับลูกที่บ้านเป็นประจำ
วินีลกชาดก ชาดกว่าด้วยการเลือกทำเลผิด
รองรับพระธรรม น้อมนำถวาย
พระไตรปิฎกบาลีหรือพระบาลีเป็นคัมภีร์พระพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาทที่บันทึกคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ในยุคแรกคำสอนของพระองค์เรียกโดยรวมว่าพระธรรมวินัย ต่อมาในภายหลังจึงแบ่งเนื้อหาออกเป็น ๓ หมวด คือ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก และพระอภิธรรมปิฎก