มงคลที่ ๒๔ มีความสันโดษ - สันโดษให้ถูกหลักวิชา
ในอดีตกาล นกแขกเต้าหลายพันตัว อยู่ในป่าไม้มะเดื่อแห่งหนึ่งใกล้ฝั่งแม่น้ำคงคาในป่าหิมพานต์ ในบรรดานกแขกเต้าเหล่านั้น มีพญานกแขกเต้าตัวหนึ่ง เมื่อผลมะเดื่อต้นที่ตนอาศัยอยู่หมดผลแล้ว ก็จิกกินหน่อใบหรือเปลือกซึ่งยังเหลืออยู่ เป็นผู้ที่มีความปรารถนาน้อยอย่างยิ่ง สันโดษในอาหาร ไม่บินไปแสวงหาต้นอื่น
สาวสุกก่อนห่ามเป็นซึมเศร้า จากความสำนึกผิดและหมดภูมิใจตนเอง
มงคลที่ ๒๐ สำรวมจากการดื่มน้ำเมา - เลิกดื่มอย่างเด็ดขาด
ภายใน ๗ วันนั้น ทั้งเมืองจะหยุดการทำงานทุกอย่าง มีแต่การละเล่นมหรสพ และการดื่มสุราเท่านั้น โดยภรรยาจะจัดแจงหาสุรามาให้สามีดื่ม และคอยต้อนรับเลี้ยงแขกที่มาเยือน เมื่อครบ ๗ วัน ทุกคนจะเลิกดื่มกันทันที และต่างเริ่มงานกันตามปกติ แต่พวกภรรยาเห็นว่า สุราที่เตรียมไว้ยังมีเหลืออยู่ จึงอยากจะดื่มบ้าง
กุศลนิมิต...สะกิดใจ
คุณครูไม่ใหญ่ คือ ดวงตะวันที่ให้แสงสว่าง ขจัดความมืดบอดไปจากใจของปวงชน ผมเองก็คือคนหนึ่งที่พบหนทางสว่างจากคุณครูไม่ใหญ่ จากคนที่ไม่เคยเชื่อเรื่องชีวิตในโลกหน้า นรก-สวรรค์ มีอบายเป็นที่ไป แต่บัดนี้ผมมีสุคติเป็นที่ไป มีนิพพานเป็นเป้าหมาย ที่สุดแห่งธรรมเป็นปลายทาง ก็เพราะได้ไปปฏิบัติธรรมที่สวนพนาวัฒน์ จากคนที่ไกลวัด บัดนี้กลายเป็นคนที่ใกล้วัด
ตาย เงื่อนไขที่ปรากฏอารมณ์ 3 ก่อนตาย
ความตายเป็นอย่างไร ตายแล้วไปไหน ชีวิตหลังความตายเป็นอย่างไร อารมณ์ก่อนตายเกิดขึ้นจากอะไร เกิดขึ้นได้อย่างไร
สวรรค์ชั้นดาวดึงส์
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุคคลผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ เหมือนถูกเชิญมาประดิษฐานไว้ในสวรรค์ ธรรม ๔ ประการเป็นไฉน คือ กายสุจริต วจีสุจริต มโนสุจริต และสัมมาทิฏฐิบุคคล ผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการนี้ จะถูกเชิญมาประดิษฐานในสวรรค์
จะเชื่อตอนเป็นหรือจะเห็นตอนตาย
บุคคลผู้ทำบาปย่อมเดือดร้อนในโลกนี้ ย่อมเดือดร้อนในโลกหน้า ย่อมเดือดร้อนในโลกทั้งสอง บุคคลผู้ทำบาปนั้นย่อมเดือดร้อนว่า บาปอกุศลเราได้ทำไว้แล้ว บาปนั้นย่อมนำเขาไปสู่ทุคติ ทำให้เดือดร้อนอย่างยิ่ง
สูจิโลมยักษ์
บุคคลในโลกนี้ผู้มีความมักโกรธ มากด้วยความแค้นเคือง แม้ถูกว่าเพียงเล็กน้อยก็ขัดเคือง มีอาการขึ้งเคียด มีความพยาบาทมาดร้าย เมื่อเขาตายจากโลกนี้ไป ย่อมเข้าถึงอบาย ทุคติ วินิบาต นรก หากแม้นไม่เข้าถึงอบาย ทุคติ วินิบาต นรก เมื่อไปสู่กำเนิดใด ก็จะมีผิวพรรณทราม
มงคลที่ ๕ มีบุญวาสนามาก่อน - บุญคือฉากหลังของทุกชีวิต
เรื่องราวของพระอุบาลีเถระ เป็นพระเถระผู้มีชื่อเสียงมากในสมัยพุทธกาล ตัวของท่านได้รับแต่งตั้งจากพระบรมศาสดาให้เป็นผู้ที่เลิศกว่าภิกษุทั้งหลายในด้านทรงจำพระวินัย มาติดตามกันเลยว่าท่านได้กระทำเหตุไว้อย่างไรจึงได้เป็นผู้ที่เลิศกว่าภิกษุทั้งหลายในด้านทรงจำพระวินัย
ปชาบดีเถรี ผู้รัตตัญญู (๑)
ในที่ใด ไม่มีความแก่หรือความตาย ไม่มีการสมาคมด้วยสัตว์และสังขารอันไม่เป็นที่รัก ไม่มีการพลัดพรากจากสัตว์และสังขารอันเป็นที่รัก ที่นั้นนักปราชญ์กล่าวว่าเป็นอสังขตสถาน