ชัยชนะครั้งที่ ๑ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า (ตอนที่ ๑ ชนะพญามาร)
เปรียบ..เสมือนดวงสุริยาที่ทอแสงให้ความสว่างในชีวิตแก่สรรพสัตว์ทั้งปวงโดยไม่เลือกที่รักผลักที่ชัง พระพุทธองค์เสด็จมาเพื่อประโยชน์สุขของมวล
พรหมมีชีวิตเป็นอมตะจริงหรือ..
ท้าวพกพรหม เมื่อยังเป็นมนุษย์บวชเป็นฤาษีบำเพ็ญเพียรจนได้ฌาน ตายแล้วไปเกิดเป็นพรหมแต่ชีวิตในพรหมโลกนั้นยาวนานมากๆ เมื่อพกพรหมไปอยู่นานเข้าก็เลยคิดว่า พรหมโลกเป็นสิ่งเที่ยงแท้ เป็นอมตะ
ไปโปรดพรหม - พุทธประวัติ
พุทธประวัติ พระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า ประสูติ ตรัสรู้ ปรินิพพาน
กว่าจะมาเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า
ก่อนได้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระโพธิสัตว์ต้องสละชีวิตและอวัยวะมานับภพนับชาติไม่ถ้วน หากเปรียบศีรษะที่ทรงสละไป ก็มากกว่าผลมะพร้าวในชมพูทวีป ดวงตาที่สละไปมากกว่าดวงดาวบนฟากฟ้า เลือดที่สะละไปมากกว่าน้ำในมหาสมุทร เนื้อที่สละไปมากมายกว่าพื้นดิน
ชัยชนะครั้งที่ 8 (ตอนที่ 1 ชนะพกพรหม)
พระชินสีห์ผู้เป็นจอมมุนีได้ชนะพกาพรหมผู้มีฤทธิ์ สำคัญตนว่าเป็นผู้รุ่งเรือง ด้วยคุณอันบริสุทธิ์ มีอสรพิษคือทิฏฐิที่ตนถือผิดรัดรึงไว้ ด้วยเทศนาญาณวิธี ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้น ขอชัยมงคลทั้งหลายจงบังเกิดมีแก่ท่าน
ชัยชนะครั้งที่ 8 (ตอนที่ 2 ชนะพกพรหม)
เพราะว่า สังสารวัฏกำหนดที่สุดของเบื้องต้นท่ามกลางและเบื้องปลายไม่ได้ ก็เหตุเพียงเท่านี้ พอทีเดียวที่เธอจะเบื่อหน่ายในสังขารทั้งปวง พอเพื่อจะคลายกำหนัด เพื่อให้พ้นทุกข์
มงคลที่ ๖ ตั้งตนชอบ - มหาพรหมผู้เห็นผิด
พระบรมศาสดาตรัสเตือนพรหมตรงๆ ว่า "พกพรหม ผู้เจริญ ตัวท่านกำลังตกอยู่ในอำนาจของอวิชชา เพราะได้พูดสิ่งที่ไม่เที่ยงว่าเที่ยง กล่าวถึงธรรมที่ไม่อาจนำออกจากทุกข์ว่า เป็นธรรมที่นำออกจากทุกข์ได้ ท่านกล่าวเช่นนี้ เป็นเรื่องที่ไม่สมควรแก่ท่านเลย"
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 1
วันนี้เรามาศึกษาประวัติการสร้างบารมีในพระชาติที่ สำคัญอีกชาติหนึ่ง ที่พระองค์ทรงมีปัญญาเฉียบแหลมและลึกซึ้ง แม้ครั้งพระองค์ยังเป็นเด็กน้อยอยู่แต่ก็มีปัญญาไม่ด้อยไปกว่ามหาบัณฑิตของ พระราชาทั้ง ๔ ท่าน ซึ่งถือว่ามีปัญญาสูงสุดของพระนคร
ห้ามเผาศพในวันพระนั้นจริงหรือไม่
วันพระ พระภิกษุทุกรูปต้องลงโบสถ์ประชุมสวดพระปาฏิโมกข์กัน คือสวดทบทวนศีลของพระ ฉะนั้นเวลาจะเผาศพ ถ้าตรงกับเวลาที่ท่านจะลงสวดปาฏิโมกข์ ท่านมาสวดบังสุกุลศพให้ไม่ได้
มหาสมัยสูตรครั้งที่ 1 (ตอนพรหมและเทวาโกลาหล)
พระอาทิตย์ ย่อมส่องแสงในเวลากลางวัน พระจันทร์ย่อมส่องแสงในเวลากลางคืน กษัตริย์เมื่อทรงเครื่องรบแล้วย่อมรุ่งเรือง พราหมณ์ผู้มีความเพ่งเพียร ย่อมรุ่งเรือง ส่วนพระพุทธเจ้า ย่อมรุ่งเรืองด้วยเดชตลอดทั้งกลางวัน และกลางคืนทั้งหมด