สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ) พระมหาเถระผู้เป็นประวัติศาสตร์ความทรงจำพระพุทธศาสนาโลก
เส้นทางชีวิตและความคิดของพระสงฆ์ไทย สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ) "สมเด็จเกี่ยว" ผู้กลายเป็นตำนานพระพุทธศาสนาในโลกตะวันตก
อานุภาพหลวงปู่ ตอน ชื่อรอด..แต่ไม่รอด
นายรอดที่ลอบยิงหลวงปู่ก็ติดคุกอยู่นานจนกระทั่งถึงกำหนดวันที่นายรอดจะต้องออกจากคุก ซึ่งหลวงปู่ท่านได้เห็นในที่ และทักขึ้นว่า วันนี้นายรอดออกจากคุก แต่จะไม่รอด ซึ่งก็จริง ๆ
ทำสมาธิแบบอานาปานสติเหมือนอาโลกกสิณหรือไม่
การฝึกสมาธิจะมีกี่วิธีก็ตาม เริ่มต้นอาจต่างกัน แต่เมื่อฝึกไปแล้วในที่สุดจะเหมือนกันคือ เมื่อถึงจุดหนึ่งจะได้เข้าดวงปฐมมรรคด้วยกันทุกวิธี จากนั้นก็เดินทางเดียวกัน คือเข้าถึงธรรมกาย
หมวดบุคคลสำคัญ
การบรรพชา-อุปสมบทหมู่ครั้งประวัติศาสตร์ที่อินเดีย
พอ 6โมงเช้า พิธีเวียนประทักษิณรอบโพธิมณฑลก็เริ่มขึ้น โดยมีประธานฝ่ายฆราวาส คือ ฯพณฯ สุวิทย์ ยอดมณี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาแห่งประเทศไทย ให้เกียรติมาอัญเชิญผ้าไตรพระราชทานจาก พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสม สวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ
การพัฒนาบุคคลากรด้วยปัญญา 3 ฐาน
ดร.วรภัทร์ ภู่เจริญ ได้เสนอวิธีการพัฒนาบุคลากรด้วยหลักปัญญา 3 ฐาน คือ ฐานกาย ฐานใจ ฐานความคิด ซึ่งแท้จริงแล้วนำมาจากหลักในพระพุทธศาสนานั่นเอง คือ ศีล สมาธิ ปัญญา ในเชิงบริหารนั่นเอง
ทาน-ทางมาแห่งทรัพย์สมบัติ ความหมายของทาน
ทาน หมายถึง การให้ด้วยความบริสุทธิ์ใจ ไม่หวังผลตอบแทน เมื่อเราให้ทาน แม้จะไม่ได้หวังสิ่งใดตอบแทนก็ตาม แต่ก็จะมีบุญเกิดขึ้น และบุญนั้นจะช่วยออกแบบชีวิตของเราให้สมบูรณ์พร้อมด้วยทรัพย์สมบัติ
ชวนต่างชาติให้สนใจ ทาน ศีล ภาวนา
ตัวลูกเป็นชาวต่างชาติ เลื่อมใสในพระพุทธศาสนา อยากให้ญาติมิตรหันมาสนใจเรื่อง การรักษาศีล เจริญภาวนา จะต้องทำอย่างไรคะ ?
สังคหวัตถุ-4-หลักการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ
ท่านทั้งหลายทราบหรือไม่ว่า การที่เรามาอยู่ร่วมกันในสังคมนั้นต้องปฏิบัติตนอย่างไร จึงจะอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุข พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ท่านทรงได้ให้หลักธรรมในการดำเนินชีวิตในสังคมอย่างเป็นสุขคือ สังคหวัตถุ 4 ซึ่งประกอบด้วยหลักธรรม 4 ข้อ ได้แก่ ทาน ปิยวาจา อัตถจริยา และ สมานัตตา โดยมีรายละเอียดแต่ละข้อดังนี้
กฐินทาน กาลทานที่มีผลานิสงส์มาก
คำสอนในพระพุทธศาสนากล่าวว่า “ทาน” หรือ “การให้” เป็นความดีที่เป็นสัมมาทิฐิเบื้องต้นของมนุษย์ทุกคน เพราะทั้งการให้ การแบ่งปัน หรือการสงเคราะห์ ล้วนเป็นคุณธรรมที่เกื้อกูลกันระหว่างชีวิตต่อชีวิต เป็นพื้นฐานความดีที่จะช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตให้มีความเจริญก้าวหน้าต่อไป ดังเช่น พระสัมมาสัมพุทธเจ้าในครั้งยังสร้างบารมี กว่าพระองค์จะทรงประสบความสำเร็จขั้นสูงสุดในชีวิต คือการตรัสรู้ธรรม พระองค์ก็ทรงอาศัยการทำทานเป็นจุดเริ่มต้นของการสั่งสมความดี