พระพรหมเมธี (จำนง ธัมมจารี) ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดสัมพันธวงศ์
พระพรหมเมธี (จำนง ธัมมจารี) ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดสัมพันธวงศ์เป็นกรรมการมหาเถรสมาคม โฆษกมหาเถรสมาคม และผู้ช่วยแม่กองธรรมสนามหลวง
สหัสชัย ไว...เด็กชาย DMC เด็กเก่ง และ ดี
ตอนนี้ อาชัยนั่งสมาธิ มีดวงแก้ว มีองค์พระใสๆๆเยอะๆๆ ผุดขึ้นมาเป็นสาย อาชัยเห็นหลวงปู่ด้วย หลวงปู่ช่วยอาชัยตลอดครับ, อาชัยอยากบอกหลวงพ่อว่า “หลวงพ่อหล่อกว่าอาชัย หลวงพ่อหล่อหลายๆๆเด้อครับเด้อ หลวงพ่อเป็นผู้งามล๊ายหลาย งามอีหลีอีหลอกะด้อกะเดี้ย อาชัยรักหลวงพ่อหลายๆๆเด้อ”
ยักษ์ คือใคร?
รับสมัครงาน
ต้องการผู้ชำนาญงานด้านแกะโฟมเป็นรูปต่างๆ เช่น พญานาค, พญายมราช, ยักษ์ เป็นต้น จำนวน 30 ท่าน
ก็อตซิลล่า 2014 การกลับมาอีกครั้งของอสูรกายยักษ์ถล่มเมือง ...
ก็อตซิลล่า 2014 การกลับมาอีกครั้งของอสูรกายยักษ์ถล่มเมือง ... เรื่องราวเกี่ยวกับ "อสุรกาย" "ยักษ์" ที่คุณอาจไม่เคยรู้ . . .
บทสวดมนต์ทำวัตรเย็น
บทสวดมนต์ทำวัตรเย็น วิดีโอสวดมนต์ทำวัตรเย็น MP3 บทสวดมนต์ทำวัตรเย็น ดาวน์โหลดได้
ข่าวสามเณรน้อยจากฮ่องกง
เด็กชายสหัสชัย ไว อายุ 7 ขวบ 2 เดือน บรรพชาเป็นสามเณรเมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ.2553 ณ วัดพระธรรมกายฮ่องกง พระอุปัชฌาย์คือ พระมหาอิทธิพงศ์ ปญฺญาวํโส (เจ้าอาวาส) และสามเณรสหัสชัยจะได้เดินทางมาอบรมที่เมืองไทย เป็นเวลา 1 เดือน โดยได้เดินทางมาถึงเมืองไทย ในวันที่ 19 กรกฏาคม พ.ศ.2553 และจะอยู่อบรมถึงวันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ.2553 โดยจะเข้าอบรมร่วมกับโครงการธรรมทายาทนานาชาติ รุ่นที่ 8 พร้อมกับธรรมทายาทอิลานและจาร์ชัวร์
กฐินสัมฤทธิ์ของอาชัย
วันเสาร์ที่ 31 ตุลาคม พ.ศ.2552 วันที่สุดแสนวิเศษในชีวิตของเด็กชาย สหัสชัย ไว หรือ อาชัย วัย 6 ขวบ 5 เดือน เด็กเก่งและดีของคุณครูไม่ใหญ่ ที่มุ่งหน้าข้ามน้ำ ข้ามทะเล มาจากฮ่องกงเพื่อมาเป็นประธานกฐินสัมฤทธิ์อินเตอร์ครั้งแรกในชีวิตของอาชัย ทอด ณ วัด ไตรรัตนาราม ต.ทางพระ อ.โพธิ์ทอง จ.อ่างทอง
วิบากกรรมอะไรจึงต้องไปเกิดเป็นยักษ์
ยักษ์มี ๒ ประเภทใหญ่ๆ คือ ยักษ์โดยอุปมาอุปไมย หมายถึงคนใจยักษ์ทั้งหลายรูปร่างเป็นคนเหมือนเรา แต่ใจคอร้ายกาจ กับยักษ์ที่เป็นยักษ์จริงๆ
แนวคิดในการสร้างวัดพระธรรมกาย
การอุทิศชีวิตทำงานสืบอายุพระพุทธศาสนาของวัดพระธรรมกาย เกิดขึ้นจากความเลื่อมใสศรัทธาในพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้ทรงมีน้ำพระทัยยิ่งใหญ่ ทรงช่วยสัตว์โลกให้พ้นจากการเวียนว่ายตายเกิดในวัฏสงสาร ข้ามสู่ฝั่งพระนิพพาน โดยไม่ทรงเห็นแก่ความเหนื่อยยากลำบากใด ๆ แม้แต่นิดเดียว