พระพากุลเถระ ตอน ได้เป็นเอตทัคคะด้านมีอาพาธน้อย
ในภัทรกัปนี้ พระพากุลเถระได้มาเกิดในตระกูลมหาเศรษฐี แห่งนครโกสัมพี ช่วงก่อนที่พระสมณโคดมพุทธเจ้าจะอุบัติขึ้น และในระหว่างที่ท่านถือปฏิสนธิอยู่ในครรภ์มารดา ก็ทำ ให้ตระกูลของท่านประสบลาภผลอันเลิศถึงขนาดทำ ให้มารดาของท่านคิดว่า ลูกของเราคนนี้ต้องเป็นเด็กมีบุญญาธิการ และถ้าลูกคนนี้เป็นผู้ไม่มีโรคและมีอายุยืนอยู่ได้นานขนาดไหน ก็จะเป็นผู้บันดาลสมบัติให้แก่เราตลอดกาลยาวนานขนาดนั้น
รองรับพระธรรม น้อมนำถวาย
พระไตรปิฎกบาลีหรือพระบาลีเป็นคัมภีร์พระพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาทที่บันทึกคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ในยุคแรกคำสอนของพระองค์เรียกโดยรวมว่าพระธรรมวินัย ต่อมาในภายหลังจึงแบ่งเนื้อหาออกเป็น ๓ หมวด คือ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก และพระอภิธรรมปิฎก
กัฏฐหาริชาดก-ชาดกว่าด้วยโทษแห่งการแบ่งชนชั้น
ณ ถิ่นกำเนิดพระพุทธศาสนานั้นยังมีการถือชนชั้นกีดกันวรรณะกันอย่างรุนแรงแม้แต่ในหมู่พระประยูรญาติขององค์พระพุทธศาสดาเอง อุษาสางวาระหนึ่งเมื่อสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าสอดส่องพระญาณก็ทรงพบว่า ความทุกข์เวทจากวรรณะได้เกิดกับพระญาติแห่งศากยวงศ์
วิเคราะห์การให้ทานของพระเวสสันดร (๑)
ปัจจุบันมนุษย์ต้องประสบกับปัญหารอบด้าน ไม่ว่าจะเป็นปัญหาครอบครัว เพื่อนร่วมงาน ค่าครองชีพที่สูงขึ้น มลพิษของสิ่งแวดล้อม ซึ่งล้วนเป็นปัญหา
ทศชาติชาดก เรื่อง พระมหาชนก ผู้ยิ่งด้วยวิริยบารมี ตอนที่ 4
“โอ จริงๆ ด้วย เธอเป็นถึงพระอัครมเหสี นี่พระนางทรงพระครรภ์ด้วยหรือนี่ หม่อมฉันขอพระราชทานอภัยด้วย ที่แสดงอาการไม่สุภาพ” “ไม่เป็นไรหรอกจ้ะ” “แล้วพระเทวีจะไปที่ไหนต่อ พระเทวีทรงมีพระประยูรญาติอยู่ในเมืองนี้บ้างหรือไม่ละ” “ฉันไม่รู้จะไปทางไหนเหมือนกัน เพราะไม่รู้จักใครในเมืองนี้เลย”
ทศชาติชาดก เรื่อง พระมหาชนก ผู้ยิ่งด้วยวิริยบารมี ตอนที่ 11
ฝ่ายพระราชธิดาเพียงได้สดับคำว่า “มหาชนก” ความรักประดุจภรรยาสามีก็ได้บังเกิดซาบซ่านไปทั่วผิวกาย แทรกซึมเข้าสู่ภายในทุกอนูเนื้อกระทั่งจรดเยื่อในกระดูก
ทศชาติชาดก เรื่อง มโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 166
มโหสถระดมคนงานราว ๖,๐๐๐คน ให้ช่วยกันขุดกรวดทรายและดิน ขนออกมาด้วยกระทงหนังขนาดใหญ่ แล้วเทลงในแม่น้ำจนน้ำขุ่นคลัก แม่น้ำนั้นก็ไหลผ่านไปถึงปัญจาละนคร ชาวเมืองต่างได้รับความเดือดร้อน ก็พากันบ่นอุบว่า “โธ่เอ๋ย ไม่น่าเลย ตั้งแต่มโหสถมานี่ ยังไม่ทันไร ก็สร้างความลำบากให้พวกเราเสียแล้ว น้ำขุ่นคลักอย่างนี้ พวกเราจะไปหาน้ำใสๆ ดื่มกินกันได้ที่ไหน”
ทศชาติชาดก เรื่อง มโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 169
จากนั้น ทรงมีพระราชบัญชาให้เหล่าเสนาตระเตรียมกองทัพใหญ่ ๑๘กองทัพ พร้อมกับให้สัญญาณแก่พระราชาทั้งร้อยเอ็ดพระองค์ว่า “ถึงเวลาแล้วที่พวกเราจะร่วมใจกันเด็ดหัวศัตรูผู้ขลาดเขลา เมื่อเผด็จศึกได้แล้ว เราถึงจะกลับมาดื่มฉลองชัยบานกันให้มโหฬารทีเดียว” สิ้นพระกระแสรับสั่งของพระเจ้าจุลนี กองทัพทั้งหมดก็เคลื่อนพลออกจากปัญจาลนครทันที
ทศชาติชาดก เรื่อง มโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 177
การที่มโหสถขัดพระกระแสรับสั่งนั้น ก็เพราะความเป็นผู้ตั้งอยู่ในธรรม ที่มิอาจจะทอดทิ้งเหล่าทหารหาญและเหล่าบริวารทั้งหลายที่ร่วมทุกข์ร่วมสุขกันมาตลอด แล้วหนีเอาตัวรอดไปได้ นี้เป็นคุณธรรมของมโหสถบัณฑิต ซึ่งแสดงถึงความรับผิดชอบต่อหมู่คณะ เป็นลักษณะเด่นของผู้นำที่ดีทีเดียว
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๘)
จากฉบับที่แล้ว ผู้เขียนได้พาท่านผู้อ่านย้อนรำลึกถึงประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาที่สำคัญที่สุดช่วงหนึ่งของประเทศไทย นั่นก็คือพระราชกรณียกิจของพระมหากษัตริย์ในยุคต้นรัตนโกสินทร์ คือ รัชกาลที่ ๑ ที่...