พระบรมธาตุในประเทศไทย ตอนที่ 1
พระบรมธาตุในประเทศไทย 1.วัดพระศรีรัตนศาสดาราม 2.วัดโพธิ์ พระมหาธาตุทรงปรางค์ 3.วัดมหาธาตุ 4.วัดราชบพิตร ....
พระภัททกาปิลานีเถรี
บุคคลในโลกนี้ ตั้งใจไว้ชอบ กล่าววาจาชอบ การงานชอบ เป็นผู้มีการสดับมาก ได้ทำบุญไว้ในชีวิตอันมีประมาณน้อยนิดในมนุษย์โลกนี้ บุคคลนั้นเป็นผู้มีปัญญา เมื่อตายไปย่อมเข้าถึงสวรรค์
พุทธชิโนรส (๒)
จิตซึ่งบุคคลตั้งไว้ผิด พึงทำบุคคลนั้น ให้เลวทรามยิ่งกว่าความพินาศเสียหาย ที่โจรเห็นโจร หรือคนจองเวรเห็นคนจองเวรทำแก่กันนั้นเสียอีก
การสังคายนาพระธรรมวินัยครั้งที่ 1
สาเหตุของการสังคายนาครั้งที่ 1 และผลจาการสังคายนา โดยสรุป
พระอัญญาโกณฑัญญะ ผู้รัตตัญญู (๒)
พระอัญญาโกณฑัญญะเถระนี้ เป็นผู้ตรัสรู้ตามพระพุทธองค์ก่อนใคร เป็นผู้มีความเพียรเครื่องก้าวหน้าอย่างแรงกล้า เป็นผู้ได้ธรรมเครื่องอยู่เป็นสุข อันเกิดแต่วิเวกเนืองนิตย์ คุณอันใดที่พระสาวกผู้ทำตามคำสอนของพระศาสดาพึงบรรลุ คุณอันนั้นทุกอย่าง พระอัญญาโกณฑัญญะเถระผู้ไม่ประมาท ได้บรรลุแล้วโดยลำดับ เป็นผู้มีอานุภาพมาก เป็นผู้ได้วิชชา ๓ เป็นผู้ฉลาดในเจโตปริยญาณ เป็นธรรมทายาทของพระพุทธองค์ มีปกติกราบไหว้ซึ่งพระบาททั้งสองของพระศาสดา
พระพุทธรูปปางต่างๆ
พระพุทธรูปปางต่างๆ พระพุทธรูปปางอธิษฐานเพศบรรพชิต พระพุทธรูปปางรับมธุปายาส พระพุทธรูปปางรับหญ้าคา พระพุทธรูปปางมารวิชัย พระพุทธรูปปางสมาธิหรือปางตรัสรู้ ความเป็นมาของปางต่างๆ
เสียงสาธุการของเทวดา
มนต์ทั้งหลาย มีการไม่ท่องบ่นเป็นมลทิน เรือนมีความไม่หมั่นเป็นมลทิน ความเกียจคร้านเป็นมลทินของผิวพรรณ ความประมาทเป็นมลทินของผู้รักษา
ผู้จรรโลงพระพุทธศาสนา
ผู้ใดมีความเชื่อในพระตถาคต ตั้งมั่นไม่หวั่นไหว มีศีลอันงาม อันพระอริยะชอบใจ สรรเสริญ มีความเลื่อมใสในพระสงฆ์ และมีความเห็นตรง บัณฑิตทั้งหลายกล่าวผู้นั้นว่า ไม่เป็นคนขัดสน ชีวิตของบุคคลนั้นไม่เปล่าประโยชน์
วัดใหม่ทองเสน
กลางกรุงเทพมหานครใกล้สี่แยกเกียกาย เขตดุสิต เป็นที่ตั้งของวัดใหม่ทองเสน วัดที่ตั้งขึ้นในสมัยต้นรัชกาลที่ ๓ ในปีพุทธศักราช ๒๓๖๕ ผู้สร้างวัดใหม่ทองเสนคือพระธรรมอุดม ท่านเป็นพระผู้ใหญ่ที่มีผู้คนนับถือมากและเป็นพระคู่เทศก์ปุจฉา วิสัจฉนากับเจ้าพระคุณสมเด็จพุฒาจารย์โต พรหมรังสี
โกรธกันไปทำไม
บุคคลใดไม่มีความโกรธภายในจิตใจ และก้าวล่วงภพน้อยใหญ่มีประการเป็นอันมากเสียได้ เทวดาทั้งหลายไม่อาจเล็งเห็นวาระจิตของบุคคลนั้น ผู้ปลอดภัย มีสุขไม่มีโศก