ปรากฏการณ์สำแดงอานุภาพของพระบรมธาตุ (2)
สมัยรัชกาลที่ 4 พระองค์ทรงอธิษฐานต่อหน้าองค์พระปฐมเจดีย์ว่า ถ้าในพระมหาเจดีย์นี้มีพระบรมธาตุซึ่งท่านแต่โบราณบรรจุไว้ในภายใน ขอเทพยาผู้ใหญ่ทรงรักษา พระมหาเจดีย์องค์นี้จงมีเมตตากรุณาแบ่งพระบรมธาตุให้สักสององค์ข้าพเจ้าจะนำไปบรรจุไว้ในพระพุทธรูปหล่อใหม่นามว่าพระสัมมาสัมพุทธพรรณีองค์หนึ่งและไว้ในพระเจดีย์ทองเหลืองหุ้มเงินอีกองค์หนึ่ง
ปรากฏการณ์สำแดงอานุภาพของพระบรมธาตุ (1)
การเพิ่มหรือลดจำนวน เปล่งแสงสว่างเป็นฉัพพรรณรังสีและดวงรัศมี : มีหลายลักษณะและมีบันทึกไว้มากมายหลายยุคหลายสมัย จะขอยกตัวอย่างไว้พอสังเขปดังต่อไปนี้...
พระบรมธาตุ
พระบรมธาตุ บทบาทและความสำคัญของพระบรมธาตุ ตำนานพระบรมธาตุ เรื่องพระบรมธาตุ เมื่อสิ้นศาสนา พระธาตุของพระพุทธเจ้าทั้งหมดจะเสด็จไปรวมกันที่พระมหาเจดีย์เมืองอนุราธปุระในลังกา แล้วจึงเสด็จไปรวมกันขึ้นเป็นองค์ที่โพธิบัลลังก์ในอินเดีย แสดงธรรมแก่เทวดาทั้งหลายเป็นครั้งสุดท้าย อันตรธาน
พระภัททกาปิลานีเถรี
บุคคลในโลกนี้ ตั้งใจไว้ชอบ กล่าววาจาชอบ การงานชอบ เป็นผู้มีการสดับมาก ได้ทำบุญไว้ในชีวิตอันมีประมาณน้อยนิดในมนุษย์โลกนี้ บุคคลนั้นเป็นผู้มีปัญญา เมื่อตายไปย่อมเข้าถึงสวรรค์
ปฏาจาราภิกษุณีเถรี
หยาดน้ำค้างบนปลายยอดหญ้ายามต้องแสงอาทิตย์อุทัย ย่อมเหือดแห้งหายไป ตั้งอยู่ไม่นาน ฉันใด ชีวิตของสัตว์ทั้งหลาย ย่อมถูกความแก่ ความเจ็บ และความตาย เผาผลาญไป ตั้งอยู่ไม่นาน ฉันนั้น
ธุดงค์ธรรมชัยกับพุทธประเพณีการล้างเท้าพระ
การล้างเท้าพระ เป็นพุทธประเพณีหนึ่งที่มีมาแต่ครั้งพุทธกาล ดังเรื่องของสังขพราหมณชาดก ที่กล่าว ถึงอดีตชาติของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ในครั้งที่เสวยพระชาติเป็นพราหมณ์ชื่อสังขะ ในชาตินั้น สังขพราหมณ์ เห็นพระปัจเจกพุทธเจ้าเสด็จมาด้วยเท้าเปล่าเหยียบย่ำทรายที่ร้อนดังถ่านเพลิง จึงเกิดกุศลศรัทธา รีบนิมนต์ พระปัจเจกพุทธเจ้าเข้าไปที่โคนต้นไม้ แล้วล้างเท้าพระปัจเจกพุทธเจ้าด้วยน้ำที่อบและกรองใสสะอาด
เขมาเถรี อัครสาวิกาเบื้องขวา
เราเรียกผู้ไม่เยื่อใยในกามทั้งหลายเหล่านั้นว่า เป็นผู้สงบ เพราะไม่มีกิเลสเป็นเครื่องร้อยรัด จึงข้ามพ้นตัณหาไปได้
สามเณรนิโครธ (๓)
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บรรพชิตผู้มีศีลทั้งหลาย เข้าไปหาสกุลใด มนุษย์ในสกุลนั้นย่อมประสบบุญเป็นอันมาก โดยฐานะ ๕ ประการ คือ สมัยใด บรรพชิตผู้มีศีลเข้าไปหาสกุล จิตของพวกมนุษย์ ย่อมเลื่อมใส สมัยนั้น สกุลนั้นชื่อว่าปฏิบัติปฏิปทาที่ยังสัตว์ ให้เป็นไปพร้อมเพื่อสวรรค์
สามเณรนิโครธ (๒)
หากว่าบุคคลมีธรรมประดับแล้ว เป็นผู้สงบแล้ว ฝึกตนแล้ว เป็นคนเที่ยงตรง เป็นพรหมจารี เลิกอาชญากรรมในสัตว์ทั้งปวง พึงประพฤติธรรมสมํ่าเสมอ ผู้นั้นก็ชื่อว่าเป็นพราหมณ์ ผู้นั้นก็ชื่อว่า เป็นสมณะ ผู้นั้นก็ชื่อว่า เป็นภิกษุ
สามเณรนิโครธ (๑)
ผู้ใดเห็นภิกษุผู้ถึงพร้อมด้วยจรณะ ให้ท่านยืนอยู่เบื้องหน้า ประคองอัญชลีนมัสการแล้ว ผู้นั้นจะได้รับการสรรเสริญในปัจจุบัน เมื่อละโลกนี้ไปแล้ว ย่อมไปสู่สุคติสวรรค์