มงคลที่ ๒๔ มีความสันโดษ - รู้จักพอ ก่อให้เกิดสุข
การเปลี่ยนแปลง คือ การแสวงหา นั่นคือ สัญญาณบอกให้เรารู้ว่า เรายังไม่พบของที่ดีจริง จึงเบื่อหน่ายเร็ว หายเห่อเร็ว เมื่อเบื่อก็เปลี่ยนแปลง แสวงหากันต่อๆ ไปอย่างนั้น การแสวงหาที่ไม่มีที่สิ้นสุดนี้แหละ ที่เรียกว่าไม่สันโดษ
5 กฎเล็กสุขภาพดีสไตล์ชีวจิต
อานิสงส์ต้อนรับพระพุทธเจ้า
แม้หม้อน้ำยังเต็มด้วยหยาดน้ำที่ตกลงมาทีละหยาดๆ ได้ฉันใด ธีรชน แม้สั่งสมบุญทีละน้อยๆ ย่อมเต็มด้วยบุญได้ ฉันนั้น
มงคลที่ ๕ มีบุญวาสนามาก่อน - คําว่าไม่มีอย่าได้รู้จัก
พระมารดาทรงดำริว่า ลูกของเราไม่เคยได้ยินคำว่า "ไม่มี" เพราะตั้งแต่เกิดมาอยากได้อะไรก็ได้ทุกอย่าง พระนางต้องการให้โอรสได้รู้จักคำว่า "ไม่มี" จึงส่งถาดเปล่า เอาฝาครอบไปให้ แต่เนื่องจากท่านสั่งสมบุญด้วยการให้ทานไว้มาก เทวดาจึงเนรมิตขนมทิพย์จนเต็มถาด เมื่อเจ้าชายเปิดออก กลิ่นหอมของขนมได้หอมฟุ้งไปทั่ว
พิธีมอบข้าวสารอาหารแห้ง จ.นราธิวาส
มูลนิธิธรรมกาย และ วัดพระธรรมกาย ร่วมกับโครงการตักบาตรพระ 2 ล้านรูป 77 จังหวัดทุกวัดทั่วไทยถวายข้าวสารอาหารแห้งแด่คณะสงฆ์จังหวัดนราธิวาส
พลิกความคิดที่ติดลบกับพระ
การบวชทำให้เกิดสัมมาทิฐิ มองเห็นชีวิตตรงตามความเป็นจริง บวชอย่างน้อยหนึ่งพรรษาให้อะไรมากว่าที่คุณคิด
เราชนะแล้ว
เพราะความตระหนี่และความประมาท คนเราจึงให้ทานไม่ได้ ผู้มีปัญญาเมื่อต้องการบุญ พึงให้ทานเถิด
มงคลที่ ๓๐ สนทนาธรรมตามกาล - ตอบปัญหาธรรมะ
ครั้งนั้น มีลูกของเศรษฐีได้สนทนากันในเรื่องที่ว่า ทำอย่างไรจะหลุดพ้นจากการเวียนว่ายตายเกิด เมื่อไม่รู้วิธี จึงได้ชักชวนกันออกแสวงหาธรรมะกับครูบาอาจารย์ที่มีชื่อเสียง เมื่อได้รับการแนะนำจากอาจารย์ให้มาถามปัญหาธรรมะกับพระบรมศาสดา จึงพากันมาเข้าเฝ้าพระพุทธองค์
มงคลที่ ๑๕ บำเพ็ญทาน - ชิตัง เม... เราชนะแล้ว
ยามใดที่เราพรั่งพร้อมด้วยโภคทรัพย์สมบัติ มีศรัทธา พบเนื้อนาบุญยามนั้นเราย่อมสร้างบารมีได้อย่างสะดวกสบาย แต่ยามใดที่เราไม่มีไทยธรรมหรือโภคทรัพย์สมบัติ แม้จะมีศรัทธา มีเนื้อนาบุญ เราก็ไม่อาจจะให้ทานได้ กว่าจะสร้างบารมีอื่นๆ ได้แต่ละอย่าง ก็แสนจะลำบาก เพราะฉะนั้นทานบารมีจึงเป็นสิ่งที่สำคัญของนักสร้างบารมี
ทศชาติชาดก เรื่อง พระมหาชนก ผู้ยิ่งด้วยวิริยบารมี ตอนที่ 6
คำของมารดานั้น มีความหนักแน่นประดุจขุนเขา ที่บุตรไม่ควรจะฟังเพียงผ่านๆ แต่ควรตระหนักไว้ในใจเสมอ เพราะมารดานั้นมีความรักและห่วงใยต่อบุตรเทียบด้วยชีวิตของตน จึงควรเคารพเชื่อฟังด้วยดี มีภาษิตที่สัตบุรุษทั้งหลายได้กล่าวไว้ ถึงความพิเศษของมารดาบิดาที่มีต่อบุตรถึง 4 ประการ คือ