การพัฒนาบุคคลากรด้วยปัญญา 3 ฐาน
ดร.วรภัทร์ ภู่เจริญ ได้เสนอวิธีการพัฒนาบุคลากรด้วยหลักปัญญา 3 ฐาน คือ ฐานกาย ฐานใจ ฐานความคิด ซึ่งแท้จริงแล้วนำมาจากหลักในพระพุทธศาสนานั่นเอง คือ ศีล สมาธิ ปัญญา ในเชิงบริหารนั่นเอง
วัดพระธรรมกายสกอตแลนด์ จัดพิธีบูชาข้าวพระ
วัดพระธรรมกายสกอตแลนด์ ได้จัดพิธีบูชาข้าวพระ และพิธีทอดผ้าป่าเพื่อสร้างวัดพระธรรมกายสกอตแลนด์
วัดพระธรรมกายบอสตัน จัดพิธีบูชาข้าวพระ
วัดพระธรรมกายบอสตัน ประเทศสหรัฐอเมริกา จัดพิธีบูชาข้าวพระ และพิธีถวายกองบุญบวชสามเณร
เทพบุตรมาร (๑)
บุคคลบางคนในโลกนี้ ย่อมถวายข้าว น้ำ เสื้อผ้า ยานพาหนะ ดอกไม้ ของหอม เครื่องลูบไล้ ที่นอน ที่พัก ที่อาศัย และสิ่งที่เป็นอุปกรณ์แก่ประทีป ให้เป็นทานแก่สมณะหรือพราหมณ์ เขาย่อมมุ่งหวังสิ่งที่ตนถวายไป โดยได้ศึกษามาว่า “พวกทวยเทพผู้สถิตอยู่ที่สวรรค์ชั้นปรนิมมิตวสวัตดี เป็นเทพที่มีอายุยืน มีวรรณะงดงามมาก เต็มเปี่ยมไปด้วยความสุข” ดังนี้แล้ว จึงตั้งจิตปรารถนาอย่างนี้ว่า “โอหนอ เบื้องหน้าแต่ตายเพราะกายแตก ขอเราพึงเข้าถึงความเป็นสหายแห่งทวยเทพเหล่าปรนิมมิตวสวัตดีเถิด” เขาตั้งจิตนั้นไว้ อธิษฐานจิตไว้มั่น อบรมจิตอย่างนั้นโดยมิได้อบรมเพื่อคุณวิเศษเบื้องสูง อย่างนี้แล้ว ย่อมเป็นไปเพื่อเกิดในสวรรค์ชั้นปรนิมมิตวสวัตดี
ชวนต่างชาติให้สนใจ ทาน ศีล ภาวนา
ตัวลูกเป็นชาวต่างชาติ เลื่อมใสในพระพุทธศาสนา อยากให้ญาติมิตรหันมาสนใจเรื่อง การรักษาศีล เจริญภาวนา จะต้องทำอย่างไรคะ ?
สวรรค์ชั้นยามา
ดูก่อนสารีบุตร ในการให้ทานนั้น บุคคลไม่มีหวังสิ่งตอบแทนในทาน แต่ก็ให้ทาน ไม่มีจิตผูกพันในผลแห่งทานแล้วให้ทาน ไม่มุ่งการสั่งสมให้ทาน ไม่ได้ให้ทานด้วยความคิดว่า การให้ทานเป็นการกระทำที่ดี แต่ให้ทานด้วยความคิดว่า บิดามารดา ปู่ ย่า ตา ยาย เคยให้ เคยทำมา เราก็ไม่ควรทำให้เสียประเพณี เขาผู้นั้นให้ทานด้วยอาการอย่างนี้แล้ว เมื่อทำกาลกิริยาตายไป ย่อมเข้าถึงความเป็นสหายแห่งเทวดาในสวรรค์ชั้นยามา
สังคหวัตถุ-4-หลักการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ
ท่านทั้งหลายทราบหรือไม่ว่า การที่เรามาอยู่ร่วมกันในสังคมนั้นต้องปฏิบัติตนอย่างไร จึงจะอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุข พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ท่านทรงได้ให้หลักธรรมในการดำเนินชีวิตในสังคมอย่างเป็นสุขคือ สังคหวัตถุ 4 ซึ่งประกอบด้วยหลักธรรม 4 ข้อ ได้แก่ ทาน ปิยวาจา อัตถจริยา และ สมานัตตา โดยมีรายละเอียดแต่ละข้อดังนี้
อานิสงส์บริจาคเครื่องประดับสร้างเจดีย์
ผู้ได้ทำบุญไว้อย่างดีแล้ว ย่อมเพลิดเพลินในโลกนี้ ละโลกนี้ไปแล้ว ก็มีความเพลิดเพลินในโลกหน้า เขาย่อมเพลิดเพลินในโลกทั้งสอง เพราะมองเห็นว่า เราได้สั่งสมบุญไว้อย่างดีแล้ว ย่อมเพลิดเพลินในสุคติโลกสวรรค์ยิ่งขึ้นไป
กฐินทาน กาลทานที่มีผลานิสงส์มาก
คำสอนในพระพุทธศาสนากล่าวว่า “ทาน” หรือ “การให้” เป็นความดีที่เป็นสัมมาทิฐิเบื้องต้นของมนุษย์ทุกคน เพราะทั้งการให้ การแบ่งปัน หรือการสงเคราะห์ ล้วนเป็นคุณธรรมที่เกื้อกูลกันระหว่างชีวิตต่อชีวิต เป็นพื้นฐานความดีที่จะช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตให้มีความเจริญก้าวหน้าต่อไป ดังเช่น พระสัมมาสัมพุทธเจ้าในครั้งยังสร้างบารมี กว่าพระองค์จะทรงประสบความสำเร็จขั้นสูงสุดในชีวิต คือการตรัสรู้ธรรม พระองค์ก็ทรงอาศัยการทำทานเป็นจุดเริ่มต้นของการสั่งสมความดี
ทำไมคนจึงต่างกัน ?
สุภมาณพ โตเทยยบุตร พอนั่งเรียบร้อยแล้ว ได้ทูลถาม พระผู้มีพระภาคเจ้าดังนี้ว่า ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ อะไรหนอแล เป็นเหตุ เป็นปัจจัยให้พวกมนุษย์ที่เกิดเป็นมนุษย์อยู่ ปรากฏความเลวและความประณีต