เก่งและดี...V-Star
ผมได้นั่งสมาธิ ปฏิบัติธรรม และมาช่วยงานบุญที่วัดพระธรรมกายอย่างต่อเนื่อง ผมรู้สึกมีความสุข สนุกสนานมากครับ ที่ได้นั่งสมาธิ ปฏิบัติธรรม และมาช่วยงานบุญที่วัด จนกระทั่งผมลืมเล่นเกมเลยล่ะครับ พระเดชพระคุณหลวงพ่อครับ...ตอนนี้ผมมั่นใจมากครับว่า ผมจะไม่กลับไปเล่นเกม และไม่ไปยุ่งเกี่ยวกับอบายมุขอีกแล้ว เพราะผมค้นพบสิ่งที่สนุกสนานมากกว่านั้นแล้วครับ นั่นก็คือ การได้เป็นเด็กดี V-Star
กรณีธรรมกาย สัมผัสให้รู้ ดูให้เห็นจริง แล้วตัดสินด้วยปัญญา
พิธีอุปสมบทพระ ณ วัดพระธรรมกายเบลเยี่ยม
วันอาทิตย์ที่ 15 สิงหาคม 2553 ที่ผ่านมา วัดพระธรรมกายเบลเยี่ยม ประเทศเบลเยี่ยม ได้จัดพิธีอุปสมบทพระ ในโครงการบวชพระ รุ่นเข้าพรรษา 100,000 รูป
เปิดตัวพระไตรปิฎกฉบับธรรมชัย เล่มสาธิต
เมื่อวันเสาร์ที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556 โครงการพระไตรปิฎก วัดพระธรรมกาย ร่วมกับมูลนิธิธรรมกายและสถาบันศึกษา 10 แห่งทั่วโลก จัดงานสัมมนาและนิทรรศการพระไตรปิฎกบาลีครั้งประวัติศาสตร์
สืบทอดพุทธธรรม...จากพุทธกาลสู่โลกปัจจุบัน
คัมภีร์พระไตรปิฎกอักษรบาลีถือเป็นข้อมูลชั้นปฐมภูมิที่สืบทอดคำสอนเป็นลายลักษณ์อักษรโดยมีมาตั้งแต่ราว ๆ พ.ศ. ๔๐๐ เศษ ณ ประเทศศรีลังกา และถือเป็นธรรมเนียมปฏิบัติของพุทธศาสนิกชนในยุคต่อมา ที่สร้างคัมภีร์ใบลานด้วยความเคารพศรัทธา เพื่อเผยแผ่หรือทดแทนของเดิมที่สูญหายหรือถูกทำลาย
ประมวลภาพงานสัมมนา "หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ"
ประมวลภาพงานสัมมนา "หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ" บูชา 70 ปี พระเดชพระคุณหลวงพ่อ พระเทพญาณมหามุนี วิ. วันอาทิตย์ที่ 20 เมษายน 2557 ณ ศูนย์ประชุม เอ ไอ ที (AIT Conference Center)
โลกมนุษย์ในเชิงพุทธศาสตร์
การกลับได้อัตภาพเป็นมนุษย์ เป็นการยาก การเวียนว่ายตายเกิดอยู่ใน 31 ภพภูมินั้น หากเราจะเปรียบเทียบสัตว์ที่อยู่ในภูมิอื่นๆ กับภูมิมนุษย์แล้ว จะพบว่าสัตว์ที่เกิดในภูมิมนุษย์นั้นมีจำนวนน้อยมาก
GETTING TO KNOW
คัมภีร์ใบลาน ขุมทรัพย์ทางปัญญาของชาวพุทธ
ทีมงานโครงการพระไตรปิฎกวัดพระธรรมกาย จึงนำคัมภีร์ใบลานเหล่านี้ซึ่งเป็นมรดกทางวัฒนธรรมในอดีต มาเชื่อมต่อกับความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีของโลกยุคปัจจุบัน เพื่อสานต่อไปยังอนาคต ด้วยการใช้กล้องคุณภาพสูงบันทึกหน้าคัมภีร์ใบลานเป็นไฟล์ภาพดิจิทัล เพื่อทำสำเนาสำรองเก็บรักษาเอกสารต้นฉบับ ทำให้ผู้สนใจสามารถศึกษาจากไฟล์ภาพโดยไม่จำเป็นต้องเข้าถึงคัมภีร์ต้นฉบับโดยตรง
อักษรธรรมล้านนา อักษราจารพุทธธรรม
ย้อนไปนานนับพันปี บริเวณภาคเหนือตอนบนของประเทศไทยในปัจจุบันเป็นที่ตั้งของอาณาจักรล้านนา มีพื้นที่ครอบคลุมหลายจังหวัด อาทิ เชียงราย เชียงใหม่ ลำปาง แม่ฮ่องสอน แพร่ น่าน ตลอดจนเขตสิบสองปันนาของจีนและบางส่วนของพม่าและลาว ผู้คนในถิ่นนี้มีภาษาพูดและภาษาเขียนเป็นของตนเอง อักษรที่นิยมใช้เขียนวรรณคดีทางโลก คือ อักษรฝักขาม ส่วนอักษรที่นิยมใช้บันทึกหลักธรรมคำสอนของพระพุทธศาสนา คือ อักษรธรรม จึงเรียกอักษรธรรมที่ใช้ในอาณาจักรล้านนาว่า “อักษรธรรมล้านนา”