ชัยชนะครั้งที่ 8 (ตอนที่ 1 ชนะพกพรหม)
พระชินสีห์ผู้เป็นจอมมุนีได้ชนะพกาพรหมผู้มีฤทธิ์ สำคัญตนว่าเป็นผู้รุ่งเรือง ด้วยคุณอันบริสุทธิ์ มีอสรพิษคือทิฏฐิที่ตนถือผิดรัดรึงไว้ ด้วยเทศนาญาณวิธี ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้น ขอชัยมงคลทั้งหลายจงบังเกิดมีแก่ท่าน
ปรโลกนิวส์ ทีมขำอุดม ตอนที่ 2
วิบากกรรมที่ทำให้โยมแม่ของลูก ต้องมาป่วยด้วยโรคหลายๆ อย่าง ทั้งนี้ก็เป็นเพราะวิบากกรรมปาณาติบาตจากหลายๆ ภพหลายๆ ชาติที่ผ่านๆ มา ได้ช่องตามมาส่งผล
มงคลที่ ๑๕ บำเพ็ญทาน - ทำอย่างไรได้อย่างนั้น
บางคนมีความเข้าใจไม่ถูกต้อง คิด ว่าบุญบาปไม่มี เพราะเป็นสิ่งที่มองไม่เห็น จึงไม่เชื่อเรื่องบุญกุศล แต่ผู้รู้ทั้งหลาย ได้พิสูจน์แล้วว่า บุญบาปมีจริง เป็นของละเอียดที่รู้เห็นได้ด้วยธรรมกายเท่านั้น สิ่งที่ละเอียดลึกซึ้งเกินกว่าวิสัยของปุถุชนจะคิดเองได้ เป็นสิ่งที่ไม่ควรคิด เป็นอจินไตย ดังที่พระพุทธองค์ตรัสไว้ว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อจินไตย ๔ อย่างนี้ ไม่ควรคิด ผู้ใดคิด ผู้นั้นพึงมีส่วนแห่งความเป็นบ้า ได้รับความลำบากเปล่า"
เนมิราชชาดกบําเพ็ญอธิษฐานบารมี(3)
บุคคลย่อมบังเกิดในขัตติยตระกูลเพราะพรหมจรรย์ขั้นต่ำ บุคคลย่อมเข้าถึงความเป็นเทวดาเพราะพรหมจรรย์ชั้นกลาง และบุคคลย่อมบริสุทธิ์ เพราะพรหมจรรย์อย่างสูงสุด
พระนันทกเถระ (๑)
ความเคลือบแคลงสงสัยของหมู่ชน ย่อมไม่มีในวันอุโบสถขึ้น ๑๕ ค่ำ ว่าพระจันทร์จะพร่องหรือเต็มก็ตาม แต่พระจันทร์ก็คงเต็มดวง ฉันใด ภิกษุณีเหล่านั้น มีความชื่นชมยินดีต่อการแสดงธรรมของพระนันทกะ และมีความดำริบริบูรณ์แล้ว ก็ฉันนั้น
ภาษาของพระพุทธเจ้า
คำถาม : พระพุทธเจ้าตรัสเป็นภาษาอะไร และเวลาที่ทรงแสดงธรรมเทศนา ท่านแสดงเป็นภาษาอะไร?
คนแคว้นฉีกังวลถึงฟ้า
มัวหวังวันข้างหน้า ก็มีแต่จะละลาย อันใดยังไม่มาถึง อันนั้นก็ยังไม่มีรู้อย่างนี้แล้ว เมื่อมีฉันทะเกิดขึ้น คนฉลาดที่ไหนจะปล่อยให้หายไปเปล่า
วิจารณ์พระไตรปิฎกเชิงวิชาการ-ที่นี่มีคำตอบ
ลูกเป็นนักวิชาการ หลายครั้งต้องวิจารณ์วัดและพุทธประวัติ ด้วยวิธีทางวิชาการ บางครั้งวิจารณ์ในทางที่อาจตีความว่า เป็นการลบหลู่ อย่างนี้จะเป็นบุญหรือบาปอย่างไรคะ
ขันติบารมี ตบะธรรมนำสู่นิพพาน
"ท่านจงอดทนต่อคำยกย่อง และคำดูหมิ่นทั้งปวง เปรียบเหมือน.. แผ่นดินอดทนต่อสิ่งที่เขาทิ้งลงทุกอย่าง ทั้งสะอาดและไม่สะอาด ไม่แสดงความยินดียินร้าย บำเพ้ญขันติบารมีก้จักบรรลุสัมโพธิญาณได้"
อัศจรรย์คุณของพระรัตนตรัย และอานุภาพแห่งศีลของอุบาสิกาแก้ว
จดหมายจากอุบาสิกาแก้วสืบเนื่อง ดีใจ