หลักวินิจฉัยว่าใครคือพุทธเถรวาท
หัวใจของพุทธศาสนาคือ พระรัตนตรัย เกณฑ์การวินิจฉัยว่าใครเป็นพุทธเถรวาทหรือไม่จึงอยู่ที่ว่า เขาเคารพบูชาพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ หรือไม่
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๕)
สืบเนื่องจากที่ผู้เขียนนำเสนอบทความ “การค้นพบหลักฐานธรรมกายจากเอกสารโบราณในประเทศไทย” ฉบับเดือนกรกฎาคมที่ผ่านมา กล่าวคือ คณะนักวิจัยของสถาบันวิจัยนานาชาติธรรมชัย (DIRI) ได้ทำการสืบค้นศึกษาวิจัยจนพบ หลักฐานร่องรอยธรรมกาย จากหลักศิลาจารึก....
ทำไมคนมีชื่อเสียงจึงหันมาสนใจศึกษาพระพุทธศาสนากันมากขึ้น
ปัจจุบันในต่างประเทศจะเห็นว่ามีผู้มีชื่อเสียงในแวดวงต่างๆ หลายคนในระดับโลก หันมานับถือพระพุทธศาสนากันมากขึ้น ซึ่งก่อนหน้านี้พวกเขาอาจจะเคยนับถือศาสนาอื่นมาก่อน จึงเป็นที่น่าสนใจว่าอะไรเป็นเหตุจูงใจให้พวกเขามาศึกษาพระพุทธศาสนากัน
ผมมี 2 ขาแล้วครับ
ผมก็รู้สึกว่า ผมมี 2 ขาแล้วครับ ที่กล่าวอย่างนี้ไม่ใช่ผมพิการนะครับ แต่ผมอยากจะเปรียบเทียบว่า ที่ผ่านมาผมในฐานะที่เป็นพุทธมหายานเหมือนคนที่เดินด้วยขาข้างเดียวมาโดยตลอด ผมอยากให้มีพุทธเถรวาทอยู่ในมองโกเลียมานานแล้ว เมื่อพระอาจารย์และคณะได้นำ DMC มาติดที่นี่ เหมือนผมมีขาครบ 2 ข้างแล้ว ทีนี้จะวิ่งไปไหน เดินไปไหน ก็สามารถวิ่งไปได้เร็วๆ
เซ็งกดขี่วรรณะตลอดชาติ จัณฑาลแห่เปลี่ยนถือ "พุทธ"
วัดพระธรรมกายโตเกียว จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมไทย-พุทธ
วัดพระธรรมกายโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น ได้จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมไทย-พุทธ ครั้งที่ 11
ประชุมสุดยอดผู้นำพุทธศาสนาแห่งโลก ครั้งที่ 5
คณะผู้แทนสมเด็จพระสังฆราช ร่วมประชุมสุดยอดผู้นำพุทธศาสนาแห่งโลก ครั้งที่ 5 โดยเน้นสันติภาพของโลก
โครงการธรรมยาตรา "พลิกฟื้นคืนพุทธ สุวรรณภูมิสู่พุทธภูมิ" รุ่นที่ 1 เริ่มขบวนธรรมยาตรา ณ เมืองตาคลี และโบรี ประเทศอินเดีย
คณะพระธรรมยาตรา โครงการธรรมยาตรา รุ่นที่ 1 "พลิกฟื้นคืนพุทธ สุวรรณภูมิสู่พุทธภูมิ" เริ่มขบวนธรรมยาตรา วันที่ 2 ผ่านเมืองตาคลี และโบรี ประเทศอินเดีย พุทธศาสนิกชนต้อนรับตลอดเส้นทาง
มาฆบูชา พุทธมหาสันนิบาต ตอน เดี๋ยวนี้ใครๆ ก็มาวัดพระธรรมกายแล้ว
วันมาฆบูชาที่จะถึงในวันพรุ่งนี้ พุทธศาสนิกชนจำนวนมากจากทั่วทุกมุมโลก โดยไม่แบ่งแยกเชื้อชาติ นิกายทางศาสนา และเผ่าพันธุ์ ต่างได้ทยอยเดินทางมาถึงที่วัดพระธรรมกายเป็นจำนวนมากแล้ว ทางกลุ่มชาวจีนที่นับถือพระพุทธศาสนาก็ชวนกันมาแสวงบุญอย่างคึกคัก เพื่อฉลองส่งท้ายเทศกาลตรุษจีนเช่นสิงคโปร์ มาเลเซีย จีนแผ่นใหญ่ ฮ่องกง ไต้หวัน เป็นต้น
พระพุทธศาสนายุคไร้พรมแดน
สมัยก่อน โลกของเราไม่มีเทคโนโลยีขั้นสูง ไม่มีคอมพิวเตอร์ ชาวพุทธอยู่แต่ในบ้านและประเทศของตน ตั้งใจประพฤติธรรมก็พอแล้ว แต่ในปัจจุบัน เราอยู่ในยุคโลกไร้พรมแดน ชาวพุทธยุคใหม่จึงต้องมีวิสัยทัศน์มองไปทั้งโลก นักบวชก็ควรเปิดใจกว้าง ไม่แบ่งแยกว่าเป็นเถรวาท มหายาน หรือวัชรยาน