ฉวชาดก ชาดกว่าด้วยการนั่งที่ไม่สมควร
ครั้งหนึ่งพวกภิกษุฉัพพัคคีย์นั้นได้รับกิจนิมนต์จากชาวบ้าน ครั้นเมื่อไปถึงเรือนของผู้นิมนต์แล้วก็นั่งอยู่ในที่ต่ำแสดงธรรมแก่ฆราวาสซึ่งนั่งอยู่ในที่สูงกว่า ด้วยเห็นว่าพวกตนได้รับการดูแลอย่างดีจากเจ้าของบ้าน ภิกษุรูปหนึ่งเห็นพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมนั้น จึงนำความไปกราบทูลพระพุทธองค์ทรงทราบ
เรือนร่างอันงดงาม ๒
บุคคลพึงเห็นสาวคนนั้นเป็นซากศพ ฝูงกา ฝูงแร้ง ฝูงนกเค้า ฝูงสุนัขจิ้งจอก ฝูงปาณกชาติ รุมกัดกิน ความเปล่งปลั่งที่มีในก่อนนั้นหายไปแล้ว โทษปรากฏแล้วมิใช่หรือ
เรือนร่างอันงดงาม
อะไรเล่าคือคุณของรูปทั้งหลาย หญิงสาวผู้ไม่สูง ไม่ต่ำไม่ผอม ไม่อ้วน ไม่ดำหรือไม่ขาวเกินไป ความสุขที่บังเกิดขึ้นเพราะอาศัยความงามเปล่งปลั่ง นี้เป็นคุณของรูปทั้งหลาย.
โครงการกัลยาณมิตรของวัดพระธรรมกายเป็นอย่างไร
ที่ผ่านมาชาวไทยมีความรู้สึกว่า พระภิกษุเท่านั้นที่มีหน้าที่เผยแผ่พระพุทธศาสนา ความเข้าใจอย่างนี้ผิด เพราะพระพุทธศาสนาประกอบด้วยบริษัท 4 คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
มงคลที่ 38 - จิตเกษม - สำคัญที่ดวงจิต
เมื่อแน่ใจแล้วว่าอุบาสิกานี้รู้วาระจิตของตนจริงๆ ท่านจึงกลับมาคิดใคร่ครวญว่า "กรรมนี้หนักหนอ ธรรมดาปุถุชน ย่อมคิดถึงอารมณ์อันงามบ้างไม่งามบ้าง ถ้าเราจักคิดสิ่งอันไม่สมควรแล้ว อุบาสิกานี้จะรู้ทันเราเหมือนจับโจรได้พร้อมด้วยของกลาง อย่ากระนั้นเลย เราควรหนีไปเสียจากที่นี้จะดีกว่า" แล้วจึงลาอุบาสิกาไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้า ถึงแม้ว่าอุบาสิกาจะทัดทานให้อยู่ต่อก็ตาม เมื่อไปถึงพระพุทธองค์ได้ตรัสถามเธอว่า "ภิกษุ เธออยู่ในที่นั้นไม่ได้หรือ"
โมรณัจจชาดก-ชาดกว่าด้วยผู้ขาดหิริโอตัปปะ
ครั้นเมื่อองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าประกาศพระพุทธศาสนาในแคว้นมคธรัฐแล้ว ต่อมาเมื่อพระองค์เสด็จจากนครราชคฤห์ อันมีฉายาว่าเบญจคีรี ที่มีภูเขาทั้ง 5 เป็นปราการมาประทับยังนครสาวัตถีในแคว้นโกศลนั้น แสงธรรมจากพระพุทธองค์ก็ส่องรัศมีกระจ่างไปทั่วแผ่นดินอนุทวีป
ทำหน้าที่ครูเป็นครั้งสุดท้าย - พุทธประวัติ
พุทธประวัติ พระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า ประสูติ ตรัสรู้ ปรินิพพาน
ทำไมจึงฉันมื้อเดียว
การฉันอาหารมื้อเดียว จะมีอาพาธน้อย ลำบากกายน้อย มีกำลัง และอยู่อย่างผาสุข
ติตติรชาดก ชาดกว่าด้วยความเคารพอ่อนน้อม
นิทานชาดกเรื่องติตติรชาดก ชาดกว่าด้วยความเคารพอ่อนน้อม “ขณะที่เรายังมีชีวิตอยู่ ภิกษุทั้งหลายยังไม่มีความยำเกรงกัน ถ้าหากเราปรินิพพานไปแล้ว ภิกษุทั้งหลายจะเป็นอย่างไร”
มิตตวินทุกชาดก-ชาดกว่าด้วยโทษผู้ลุอำนาจความปรารถนา
ครั้งหนึ่งเมื่อสมเด็จพระพุทธศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้าเทศนาข้อตัณหาอันเป็นสิ่งกว้างขวางไร้ขอบเขตจำกัด ณ พระเชตะวันมหาวิหารในนครหลวงแห่งมคธรัฐ พุทธวัจนในพระธรรมบทนี้ได้รับการจดจำต่อๆ กันว่าชนเหล่าใดมากำหนัดยินดีตัณหานั้น ชนเหล่านั้นก็เช่นผู้ถูกจักรกรดไว้