โอวาทที่เหมาะสม
พระตถาคตทรงรู้วาจาใด จริง แท้ เป็นประโยชน์ และวาจานั้นไม่เป็นที่รักที่ชอบใจของชนเหล่าอื่น ในวาจานั้น พระตถาคต ก็ทรงเป็นผู้รู้จักกาล เพื่อพยากรณ์วาจานั้น พระตถาคตทรงรู้วาจาใด จริง แท้ เป็นประโยชน์ และวาจานั้นเป็นที่รักที่ชอบใจของชนเหล่าอื่น ในวาจานั้น พระตถาคตก็เป็นผู้รู้จักกาล เพื่อพยากรณ์วาจานั้น
มงคลที่ ๒ คบบัณฑิต - มีไมตรีจิตต่อกัน
ข้าแต่พญาหงส์ ในยามผลดกนกทั้งหลายก็ชุม แต่พอผลวายนกทั้งหลายก็ไปไม่เหลียวแล ตอนมีผลประโยชน์ใครๆ ก็เห็นคุณค่า แต่ตอนที่หมดประโยชน์ ใครบ้างเล่าจะนึกถึงผู้มีอุปการคุณ เราจะไม่ไปไหนทั้งนั้น ต้นไม้นี้เป็นทั้งเพื่อน เป็นทั้งญาติของเรา เราต้องการเป็นอยู่เพียงเท่านี้ ขอเพียงได้ร่วมทุกข์ร่วมสุขกับต้นไม้ที่มีพระคุณกับเราเท่านั้น
มงคลที่ ๓๓ เห็นอริยสัจ - ผู้ดื่มรสแห่งธรรม
ภิกษุผู้ที่เล่าเรียนพระปริยัติธรรมเพียงอย่างเดียว ไม่สามารถตอบได้แม้แต่ข้อเดียว จึงนั่งก้มหน้านิ่งอยู่ ส่วนภิกษุผู้ปฏิบัติธรรมจนเป็นพระอรหันต์ สามารถตอบปัญหาธรรมได้ทุกข้อ อย่างแจ่มแจ้งฉะฉานไม่มีติดขัด พระพุทธองค์จึงทรงสรรเสริญ ชื่นชม อนุโมทนาสาธุการพระเถระ
ความวิเศษสุดของพระพุทธศาสนา
ภิกษุผู้ตั้งอยู่ในศีล สำรวมในอินทรีย์ทั้งหลาย รู้จักประมาณในโภชนะ หมั่นประกอบความเพียร ภิกษุผู้มีปกติพากเพียรอยู่อย่างนี้ ไม่เห็นแก่นอน ไม่เกียจคร้านทั้งกลางวันและกลางคืน เจริญกุศลธรรมเพื่อบรรลุคุณอันเกษมจากโยคะ ผู้ยินดีในความไม่ประมาท มีปกติเห็นภัยในความประมาท เป็นผู้ไม่ควรเพื่อความเสื่อม ย่อมเป็นผู้ปฏิบัติใกล้พระนิพพานทีเดียว
สักกปัญหสูตร ตอนที่ ๒ (โคปกเทพบุตร)
การปฏิบัติธรรม เจริญสมาธิภาวนา เป็นกรณียกิจ คือ กิจที่ควรทำอย่างยิ่ง เพราะเป็นกิจหลักที่จะนำพาทุกๆ คน ให้เข้าถึงความสุขที่แท้จริง คือ
เพียงรักษาจิตเท่านั้น
“พระพุทธศาสนา” เป็นศาสนาของผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน อีกทั้งยังเป็นแหล่งความรู้อันบริสุทธิ์มากมาย
สำรวมอินทรีย์นำชีวีพ้นทุกข์
ก็ผู้ใด รู้ไม่เท่าทันเหตุที่เกิดขึ้นโดยฉับพลัน ผู้นั้นย่อมตกอยู่ในอำนาจของศัตรู และจะเดือดร้อนในภายหลัง ส่วนผู้ใด รู้เท่าทันเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นโดยฉับพลัน ผู้นั้นก็จะพ้นจากการเบียดเบียนของศัตรู เหมือนไก่พ้นจากกรงเล็บของแมว ฉะนั้น
มงคลที่ ๒๑ ไม่ประมาทในธรรม - อย่างหลงใหลเพลิดเพลิน
สมัยหนึ่งในกรุงราชคฤห์ มีหญิงงามเมืองผู้มีความงดงามคนหนึ่ง ชื่อ สิริมา ได้เคยประทุษร้ายต่อนางอุตตรา ซึ่งเป็นลูกสาวของท่านปุณณเศรษฐี เมื่อสำนึกผิดแล้วได้ขอโทษนางอุตตรา และทูลขอขมาโทษพระบรมศาสดาด้วย ในวันนั้น หลังจากได้ฟังพระธรรมเทศนาจากพระบรมศาสดาว่าพึงชนะคนโกรธ ด้วยความไม่โกรธ พึงชนะคนไม่ดี ด้วยความดี พึงชนะคนตระหนี่ ด้วยการให้
มงคลที่ ๓๒ ประพฤติพรหมจรรย์ - ครั้งหนึ่งในชีิวิตของลูกผู้ชาย
"ดูก่อนโสณะ พรหมจรรย์มีภัตรหนเดียว ต้องนอนผู้เดียวตลอดชีวิต เป็นสิ่งที่ทำได้ยาก ท่านเป็นคฤหัสถ์อยู่ในเรือน จงหมั่นประกอบพรหมจรรย์อันมีภัตรหนเดียว นอนผู้เดียว ซึ่งเป็นคำสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหลายเถิด" แม้พระอาจารย์จะทักเช่นนี้ แต่ด้วยมโนปณิธานอันแน่วแน่ที่จะบวชให้ได้ ท่านเพียรเข้าไปขออนุญาตพระเถระถึง ๓ครั้ง
พระธรรมเทศนาหลวงปู่วัดปากน้ำ บทปัพพโตปมาคาถา 28 มีนาคม พ.ศ.2497
ใครๆไม่อาจสามารถจะเอาชนะความแก่ความตายนั้น ด้วยการสู้รบด้วยเวทมนต์ เวทมนต์คาถาใดๆ วิชาพราหมณ์ เวทมนต์กลคาถาใดๆ ไม่อาจสามารถจะสู้รบกับความแก่ความตายนั้นได้ หรือจะสู้รบด้วยทรัพย์ มีทรัพย์ จะเอาทรัพย์ไปไถ่ถอนตัว แก้ความแก่ความตาย เรื่องความแก่ความตายไม่มีทางสู้ ไม่มีทางแก้ทีเดียว จะแก้อย่างไรก็แก้ไม่ได้