เตือนทำงานกลางคืนสารพัดโรคภัย อันตรายต่อหัวใจ-ท้อง-ชักนำมะเร็ง
ยมกปาฏิหาริย์
ภูเขาวิบุละ เขากล่าวกันว่าเป็นภูเขาสูงเยี่ยมกว่าภูเขาที่ตั้งอยู่ในพระนครราชคฤห์ เสตบรรพต เป็นเลิศกว่าภูเขาในป่าหิมพานต์ ดวงอาทิตย์เป็นเลิศกว่าสิ่งใดๆ ในนภากาศ มหาสมุทรเป็นเลิศกว่าห้วงมหานที ดวงจันทร์เป็นเลิศกว่าหมู่ดาวทั้งปวง พระพุทธเจ้าเป็นเลิศกว่าสรรพสัตว์ในโลก และเทวโลก
มงคลที่ ๓๔ ทำพระนิพพานให้แจ้ง - จุดมุ่งหมายสูงสุดของชีวิต
ด้วยจิตที่จะอนุเคราะห์พระราชา พระปัจเจกพุทธเจ้าจึงถวายพระพรว่า "ธรรมดานักโทษย่อมไม่ยินดีในเรือนจำ มีแต่ดิ้นรนแสวงหาหนทางออกจากเรือนจำนั้นอย่างเดียว ขอพระองค์จงเป็นเช่นนั้นเถิด จงเห็นภพทั้งหมดเหมือนเรือนจำเถิด โลกนี้ถูกความมืด คือ อวิชชา ห่อหุ้มไว้ ตราบใดที่สัตวโลกยังไม่ได้รับแสงสว่างจากพระสัทธรรม เปรียบเสมือนตกอยู่ในคุกมืด..."
บวชไปนิพพาน
เพศนักบวชคือเพศอันประเสริฐ ไม่ใช่ว่าใครจะมาอยู่ในเพศนี้อย่างง่าย ๆต้องมีบุญมีบารมี ต้องบำเพ็ญเนกขัมมบารมีมาข้ามชาติ ต้องมีคุณสมบัติครบถ้วนบริบูรณ์จึงจะมาบวชได้
มโหสถบัณฑิต ตอนที่ ๘ ( แก้ปมปริศนา )
ในครั้งนี้ ยังคงนำเรื่องมโหสถบัณฑิตผู้มีปัญญาเฉียบแหลมมาให้ได้ติดตามกันต่อ แม้มโหสถบัณฑิตอายุยังน้อย แต่ก็สามารถแก้ไข หรือพิจารณาอรรถคดีต่างๆ ได้ถูกต้องแม่นยำอย่างน่าอัศจรรย์ จนชนะใจอำมาตย์ว่า บุคคลนี้แหละที่พระราชาทรงสุบินนิมิตว่า ทรงเห็นไฟกองเล็กๆ ผุดขึ้นท่ามกลาง ไฟกองใหญ่ ๔ กอง ไฟกองเล็กนี้สว่างไสว พุ่งขึ้นไปได้ถึงพรหมโลกทีเดียว
คำถามทั่วๆ ไปเกี่ยวกับพระพุทธศาสนา
ชัยชนะครั้งที่ 8 (ตอนที่ 1 ชนะพกพรหม)
พระชินสีห์ผู้เป็นจอมมุนีได้ชนะพกาพรหมผู้มีฤทธิ์ สำคัญตนว่าเป็นผู้รุ่งเรือง ด้วยคุณอันบริสุทธิ์ มีอสรพิษคือทิฏฐิที่ตนถือผิดรัดรึงไว้ ด้วยเทศนาญาณวิธี ด้วยเดชแห่งพระพุทธชัยมงคลนั้น ขอชัยมงคลทั้งหลายจงบังเกิดมีแก่ท่าน
สรรเสริญ นินทา ธรรมดาของโลก
อตุละ การนินทาและสรรเสริญนั่น เป็นของเก่า นั่งไม่ใช้เป็นเหมือนมีในวันนี้ ชนทั้งหลายย่อมนินทาผู้นั่งนิ่งบ้าง ย่อมนินทาผู้พูดมากบ้าง ย่อมนินทาผู้พูพอประมาณบ้าง ผู้ไม่ถูกนินทา ไม่มีในโลก
ตาบอดคลำช้าง
นินทาและสรรเสริญ เป็นโลกธรรม ที่อยู่คู่มนุษยชาติมาตลอด เพราะในโลกนี้ “นักพูด” มีมากกว่า “นักทำ” ผู้ที่มีปกติชอบพูดวิพากษ์วิจารณ์ เยาะเย้ยถากถางผู้อื่น มักเป็นผู้ไม่รู้จริงในสิ่งที่พูด
เมื่อต้องสอน ผู้มองต่างมุม
เมื่ออยู่ในสถานะที่แตกต่าง ความคิดความเข้าใจย่อมแตกต่าง ดังเช่น บางคนไม่เข้าใจว่า ทำไมต้องให้ทาน เสียทรัพย์เปล่าๆ ทำไมต้องเข้าวัด เสียเวลา