มงคลที่ ๒๑ ไม่ประมาทในธรรม - ควรคุ้มครองอินทรีย์
วันหนึ่งท่าน ละเลยการคุ้มครองอินทรีย์ ได้ยืนมองดูมหาชน และเหลือบไปเห็นนางวรรณทาสีคนหนึ่งที่มีรูปร่างงดงาม จึงมีจิตปฏิพัทธ์ เมื่อเกิดความกำหนัดยินดี ฌานก็เสื่อม กินไม่ได้นอนไม่หลับ ทนทุกข์ทรมานอยู่ถึง ๗ วัน
ทศชาติชาดก เรื่อง มโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 180
ดอกทองกวาวถูกแสงจันทร์ในยามราตรีสาดส่อง จึงแลเห็นเหมือนชิ้นเนื้อสด ฝูงสุนัขจิ้งจอกเห็นดอกทองกวาวนั้นบานสะพรั่งอยู่ในยามราตรี ต่างก็พากันสำคัญว่าเป็นชิ้นเนื้อสด จึงพากันวิ่งกรูกันเข้าล้อมต้นไว้ตลอดทั้งคืน โดยหวังจะได้กินชิ้นเนื้อในวันรุ่งขึ้น
มงคลที่ ๓๑ บำเพ็ญตบะ - ตบะธรรมชนะกิเลส
ท้าวสักกะทรงดำริว่า “ดาบสนี้มีอานุภาพมากจะทำให้เราเคลื่อนจากความเป็นท้าวสักกะ เราจะต้องร่วมมือกับพระเจ้าพาราณสี ทำลายตบะของดาบสนั้นให้ได้” ครั้นเวลาเที่ยงคืน จึงเสด็จไปยังห้องบรรทมของพระเจ้าพาราณสี แสดงอานุภาพของท้าวสักกะ พลางตรัสกับพระราชาว่า
กล้าดี...นักรบกล้าพันธุ์ตะวัน
เมื่อใดที่ใจเกิดวิตกหวั่นไหว ให้ถอยกลับไปจุดเริ่มต้นเพื่อฟังเสียงจากภายในกลางกาย แล้วใช้โยนิโสมนสิการเป็นหลักในการตัดสินใจ บวกกับความเชื่อมั่นในความดีที่จะทำนี้ เรียกว่ามีความกล้าดี
ความวิเศษสุดของพระพุทธศาสนา
ภิกษุผู้ตั้งอยู่ในศีล สำรวมในอินทรีย์ทั้งหลาย รู้จักประมาณในโภชนะ หมั่นประกอบความเพียร ภิกษุผู้มีปกติพากเพียรอยู่อย่างนี้ ไม่เห็นแก่นอน ไม่เกียจคร้านทั้งกลางวันและกลางคืน เจริญกุศลธรรมเพื่อบรรลุคุณอันเกษมจากโยคะ ผู้ยินดีในความไม่ประมาท มีปกติเห็นภัยในความประมาท เป็นผู้ไม่ควรเพื่อความเสื่อม ย่อมเป็นผู้ปฏิบัติใกล้พระนิพพานทีเดียว
พระพุทธคุณ ตอน สมบูรณ์ด้วยวิชชาและจรณะ
พระองค์ทรงเป็นที่พึ่งของผู้ไร้ที่พึ่ง ทรงประทานความไม่มีภัยแก่เหล่าชนผู้มีความกลัว ทรงเป็นที่คุ้นเคยของผู้มีภูมิธรรมสงบ ทรงเป็นที่พึ่งที่ระลึกของผู้แสวงหาที่พึ่งที่ระลึก
คิดผิดคิดใหม่ได้ (๓)
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย กาล ๔ อย่างที่บุคคลบำเพ็ญโดยชอบ ให้เป็นไปโดยชอบ ย่อมให้ถึงความสิ้นอาสวะโดยลำดับ กาล ๔ นี้คือ การฟังธรรมตามกาล การสนทนาตามกาล การสงบตามกาล และการพิจารณาตามกาล กาล ๔ อย่างนี้ อันบุคคลบำเพ็ญโดยชอบ ให้เป็นไปโดยชอบ ย่อมให้ถึงความสิ้นอาสวะโดยลำดับ
พระนันทกเถระ (๑)
ความเคลือบแคลงสงสัยของหมู่ชน ย่อมไม่มีในวันอุโบสถขึ้น ๑๕ ค่ำ ว่าพระจันทร์จะพร่องหรือเต็มก็ตาม แต่พระจันทร์ก็คงเต็มดวง ฉันใด ภิกษุณีเหล่านั้น มีความชื่นชมยินดีต่อการแสดงธรรมของพระนันทกะ และมีความดำริบริบูรณ์แล้ว ก็ฉันนั้น
น้องๆได้เรียนรู้หลักธรรม และวัฒนธรรมชาวพุทธ รักษาศีลแปด สวดมนต์ทำวัตรเช้า-เย็น และฝึกสมาธิ นอกจากนี้ยังได้รับฟังธรรมะจากพระอาจารย์ และเรื่องที่บีบน้ำตาน้องๆมากที่สุดคือ “เรื่องพระคุณของพ่อแม่” ในช่วงนั้นเป็นบรรยากาศที่เหนือคำบรรยายค่ะ น้องๆซาบซึ้งกันมากจนร้องไห้ วันรุ่งเช้าตาบวมไปตามๆกันเลยค่ะ
มงคลที่ ๒๗ มีความอดทน - ขันติธรรมอยู่ที่ไหน
พระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงสรรเสริญขันติธรรมว่าเป็นเลิศ เป็นหลักเป็นประธานที่ทำให้เกิดคุณ คือ ศีล สมาธิ กุศลธรรมทุกอย่างจะเจริญขึ้นมาได้ ก็เพราะอาศัยขันติเป็นพื้นฐาน ผู้มีขันติธรรมอยู่ในใจ ได้ชื่อว่าเป็นผู้ย่างขึ้นสู่หนทางสวรรค์และนิพพานโดยแท้ พระพุทธองค์ยังทรงสรรเสริญอีกว่า "ยกเว้นปัญญาแล้ว เราตถาคตสรรเสริญว่า ขันติเป็นเลิศ" เพราะฉะนั้น ขันติบารมีจึงเป็นบารมีที่เราจะต้องสั่งสมไว้ให้มาก ให้ติดตามตัวเราไปทุกภพทุกชาติ