เกฬิสีลชาดก ชาดกว่าด้วยปัญญาสำคัญกว่าร่างกาย
พระเจ้าพรหมทัตทรงครองราชสมบัติอยู่ ณ กรุงพาราณสี พระองค์ทรงชอบการกลั่นแกล้งทรมานคนแก่ชราและสัตว์ที่แก่ไร้เรี่ยวแรง นำมากลั่นแกล้งในรูปแบบต่าง ๆ จนท้าวสักกะทนไม่ไหวจำต้องเสด็จลงมาใช้อุบายทำการสั่งสอนให้พระองค์ได้ทรงสำนึกในการกระทำที่ไม่สมควร
ปานียชาดก ชาดกว่าด้วยการทำบาปแล้วรังเกียจบาปที่ทำ
“ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ขึ้นชื่อว่ากิเลสเป็นของเล็กน้อยไม่มีเลย ธรรมดาว่าภิกษุต้องข่มกิเลสที่เกิดแล้วแล้วเสีย บัณฑิตครั้งก่อนเมื่อพระพุทธเจ้ายังไม่เสด็จอุบัติต่างก็ข่มกิเลสทั้งหลายเสียได้บรรลุปัจเจกพุทธญาณ ”
กุมภชาดก ชาดกว่าด้วยโทษของสุรา
“ หม้อใบนี้เป็นหม้อที่มีโทษมาก ผู้ใดดื่มน้ำในหม้อนี้จะเสียผู้เสียคน ควบคุมสติไม่ได้ ทั้งแสดงกิริยาที่ไม่เหมาะสม บ้างก็เหมือนคนบ้า บ้างก็ด่าทอทะเลาะวิวาท ด่าบิดามารดา ฆ่าสมณะชีพราหมณ์ได้ น้ำในหม้อใบนี้เป็นน้ำสุรา หากประสงค์จะเห็นความพินาศของตนและบ้านเมือง ก็จงซื้อไปดื่มเถิด ”
บุปผรัตตชาดก ชาดกว่าด้วยเป็นทุกข์เพราะภรรยาไม่ได้ผ้าย้อมดอกคำ
เมื่อทหารพาตัวชายผู้เป็นสามีมาถึงที่ ก็พาเขาไปเสียบที่หลาว เขาได้รับเวทนาแสนสาหัส ฝูงกาพากันไปเกาะที่ศีรษะ จิกนัยน์ตาด้วยจะงอยปากอันคมเหมือนปลายคีม ชายผู้นี้ไม่ได้ใส่ใจทุกขเวทนาที่ได้รับแม้แต่น้อย เขายังคงเฝ้าคิดถึงแต่หญิงอันเป็นที่รักเท่านั้น
ทำถูกหลักวิชชา นำพาสู่สวรรค์
“ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สัปปุริสทานมี ๘ ประการ คือ ให้ของสะอาด ให้ของประณีต ให้ตามกาล ให้ของสมควร เลือกให้ ให้เนืองนิตย์ ให้ด้วยจิตที่ผ่องใส และให้แล้วก็ดีใจ”
พระราชประวัติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร
พระราชประวัติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร รัชกาล ที่ 10 "ขอพระองค์ทรงพระเจริญ”
แนวการสอนของวัดพระธรรมกาย
แนวการสอนของวัดพระธรรมกาย ยึดหลัก “อนุปุพพิกถา” ซึ่งเป็นแนวการสอนที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงใช้มากที่สุด เป็นการสอนไปตามลำดับ 5 ข้อ คือ
พระไตรปิฎกพิมพ์อักษรไทย อธิปไตยของแผ่นดิน
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระไตรปิฎกพิมพ์อักษรไทย อธิปไตยของแผ่นดิน
วัดพระธรรมกาย การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเชิงรุก
ภาพกิจกรรมการเผยแผ่พระพุทธศาสนาขนาดใหญ่หลากหลายรูปแบบที่วัดพระธรรมกายจัดขึ้น เป็นการเผยแผ่เชิงรุกเพื่อฟื้นฟูพระพุทธศาสนา นำศีลธรรมกลับคืนมาสู่สังคมนั่นเอง
คำชะโนด เกาะลอยน้ำ เผยตำนานป่าลี้ลับป่าคำชะโนด
คำชะโนด อ่านตำนานคำชะโนด ปริศนาสะพานหัก ป่าที่ไม่เคยจม ป่าคำชะโนดเกาะลอยน้ำ พญานาคแปลงกาย เชิญอ่านเรื่องลึกลับของป่าอาถรรพ์คำชะโนดได้ที่นี่...
ผีจ้างหนัง เผยตํานานผีจ้างหนัง อาถรรพ์ป่าคำชะโนด
ผีจ้างหนัง ตำนานผีจ้างหนัง ที่ว่ามีพญานาคมาจ้างหนังไปฉายที่คำชะโนดจริงหรือไม่ อย่างไร เชิญติดตาม..
เป็น อยู่ คือ... วิถีชาวอินโด
เป็น อยู่ คือ... วิถีชาวอินโด ประชากร ส่วนใหญ่เป็นสายมาเลย์ประมาณร้อยละ 95 ที่เหลือเป็นอินโด อาหรับ จีน และชาวยุโรป แต่ถ้าแบ่งตามหลักฐานชาติวงศ์วิทยาแล้ว ถือว่ามีต้นกำเนิดมาจาก 365 เชื้อชาติ รวมกันเป็นกลุ่มใหญ่ได้ 4 กลุ่ม คือ เมเลเนเซียน (Melanesians) โปรโตออโตรเนเซียน (Proto – Autronesians) โพลีเนเซียน (Polynesians) และโมโครเนเซียน (Micronesians) ชาวอินโดนีเซียจะมีตาคม ผมดำ ผิวสีน้ำตาล กระดูกแก้มกว้าง ตาเล็ก จมูกใหญ่ มีความสูงประมาณ 5 – 6 ฟุต ใกล้เคียงกับความสูงของคนไทย
การละเล่น การแสดงและกีฬาของชาวไทย
การละเล่น การละเล่นพื้นบ้านของไทย มีทั้งของเด็กซึ่งเป็นการละเล่นง่ายๆ ภายในบ้านการละเล่นสนุกนอกบ้าน โดยจะนำอุปกรณ์การเล่นสนุกนอกบ้าน โดยจะนำอุปกรณ์การเล่นมาจากวัสดุธรรมชาติ
การแต่งกายไปวัด เมื่อจะไปวัดควรแต่งกายอย่างไร ให้ถูกต้องและสุภาพ
การแต่งกายไปวัด การเตรียมตัวก่อนไปวัด
โกรธกันไปทำไม
บุคคลใดไม่มีความโกรธภายในจิตใจ และก้าวล่วงภพน้อยใหญ่มีประการเป็นอันมากเสียได้ เทวดาทั้งหลายไม่อาจเล็งเห็นวาระจิตของบุคคลนั้น ผู้ปลอดภัย มีสุขไม่มีโศก
ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน เกี่ยวกับ 8 Precepts ศีล 8
วันนี้เราจะไปติดตามเรื่องของ 8 Precepts = ศีล 8 หากเราจะอธิบายเรื่องนี้ให้ชาวต่างชาติฟัง จะมีวิธีการอธิบายอย่างไร เรียนรู้ภาษาอังกฤษกับ Aj. ศุภกิจ นันทโรจนาพร
ผู้ควรประดับดอกไม้ทิพย์
ผู้มีปัญญา เมื่อปรารถนาความสุข ๓ ประการ คือ คำสรรเสริญ ๑ การได้ทรัพย์เครื่องปลื้มใจ ๑ ละโลกแล้วได้บันเทิงในสวรรค์ ๑ พึงรักษาศีล
คนโง่ได้ยศก็ไม่เกิดประโยชน์
ผู้มีปัญญาทรามได้ยศแล้ว ย่อมประพฤติสิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์แก่ตน ย่อมปฏิบัติเพื่อความเบียดเบียนตน และคนอื่น
ข่าวพระพุทธศาสนา โดยพระมหาสมชาย ฐานวุฑฺโฒ
เมื่อสงฆ์มองสื่อที่สื่อเรื่องสงฆ์ ในรูปแบบของพระมหาสมชาย ฐานวุฑฺโฒ คำตอบ มุมมมอง แง่คิดของข่าวพระพุทธศาสนาในปัจจุบัน...
กิจกรรมวันต่อต้านยาเสพติดในประเทศไทย
ทุกวันที่ 26 มิถุนายน เป็นวันต่อต้านยาเสพติดโลก ดังนั้นจึงมีการจัดกิจกรรมรณรงค์มากมาย และมีคำขวัญประจำในแต่ละปีอีกด้วย