ออกแบบชีวิตด้วยตนเอง (๒)
ดูก่อนน้องนางผู้เจริญ ในท่ามกลางหญิงเหล่านี้ ไม่มีหญิงแม้แต่คนเดียวที่โดดเด่นเสมอเหมือนกับเธอ เธอสง่างามราวกับนางอัปสร ผู้งดงามท่ามกลางหมู่เทพนารี เป็นสตรีผู้มีบุญลักษณะ เธอทำบุญอะไรไว้ จึงได้สิริสมบัตินี้มาครอบครอง
ข่าวจากโพสต์ทูเดย์ วัดพระธรรมกาย ช่วยพระพุทธศาสนาให้หยั่งรากลึกในยุโรป
คนไทยในประเทศยุโรปมีที่พึ่งทางใจ มีที่ปฏิบัติภาวนา สร้างสรรค์เส้นทางบุญกันได้มากขึ้น เมื่อวัดพระธรรมกายตั้งสาขาวัดในยุโรป 10 ประเทศ รวมถึง 21 วัด ยังมีแผนขยายให้มากขึ้นอีก ที่มีผลงานขนาดนี้นอกจากวิสัยทัศน์ยาวไกลของพระเถระจากวัดพระธรรมกายในเมืองไทยแล้ว ข่าวเด่น,
พิธีต้อนรับสัญญาบัตร-พัดยศ เจ้าอาวาสวัดสาขาต่างประเทศของวัดพระธรรมกาย
เวสสันดรชาดก ตอนที่ ๑๑ ( บริจาคกัณหาชาลี )
ดูก่อนพ่อชาลีลูกรัก พ่อจงมาเพิ่มพูนบารมีของพ่อให้เต็ม จงช่วยโสรจสรงหทัยของพ่อให้เย็นชุ่มฉ่ำ ลูกรักขอลูกจงทำตามคำของพ่อ ขอลูกทั้งสองจงเป็นดังยานนาวาของพ่อไม่หวั่นไหวต่อสาครคือภพ เมื่อพ่อข้ามฝั่งคือชาติแล้ว จักยังมนุษย์ และเทวดาทั้งหลายให้ข้ามพ้นด้วย
การเลื่อนและตั้งสมณศักดิ์พระสงฆ์ประจำปี พ.ศ. 2557
“ในหลวง” โปรดเกล้าฯ สถาปนา เลื่อนและตั้งสมณศักดิ์ พระสงฆ์ประจำปี 2557 วัดไตรมิตรฯ เป็น “สมเด็จพระพุฒาจารย์” รูปใหม่ ขณะที่ “พระธรรมกิตติวงศ์” วัดราชโอรสาราม ขึ้นรองสมเด็จที่ราชทินนาม “พระมหาโพธิวงศาจารย์” ส่วน “หลวงพ่อเณร-พระราชพิพัฒนโกศล” วัดศรีสุดาราม เป็น “พระเทพประสิทธิมนต์” พระนักพัฒนาจากวัดกระทุ่มแพ้ว จ.ปราจีนบุรี เป็นเจ้าคุณใหม่ที่ “พระสิทธิวีรานุวัฒน์”
ทศชาติชาดก เรื่อง พระเตมีย์ ผู้ยิ่งด้วยเนกขัมมบารมี ตอนที่ 21
ประโยชน์อะไรกับการมีบุตรและธิดาซึ่งวันหนึ่งก็ต้องพลัดพรากจากกันในที่สุด อาตมภาพพ้นแล้วจากพันธะซึ่งเป็นภาระผูกพัน ย่อมทราบดีว่า เรามีความแก่ชราเป็นธรรมดา และมีความตายรอคอยอยู่เบื้องหน้า
ประมวลภาพพิธีมุทิตาต้อนรับสัญญาบัตร-พัดยศ เจ้าอาวาสวัดสาขาต่างประเทศของวัดพระธรรมกาย
ประมวลภาพพิธีมุทิตาต้อนรับสัญญาบัตร-พัดยศ เจ้าอาวาสวัดสาขาต่างประเทศของวัดพระธรรมกาย วันศุกร์ ที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2557 เวลา 20.00 น. ณ อุโบสถ วัดพระธรรมกาย อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี
ความตายคืออะไร ประเภทของความตาย เหตุเกิดขึ้นของความตาย
ความตายเป็นเพียงจุดสิ้นสุดของชีวิตในภพภูมิหนึ่งๆ เท่านั้น และความตายนี้ย่อมเป็นสิ่งที่น่ากลัวและไม่น่าปรารถนาของสรรพสัตว์ แต่ไม่ว่าเราจะปรารถนาหรือไม่ก็ตามเราทุกคนล้วนแต่ต้องตาย แต่ตายแล้วจะไปไหน
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๕)
หลังจากการล่มสลายของราชวงศ์สตวาหนะแล้ว ราชวงศ์อานธรอิกศวากุ ได้ปกครองดินแดนแถบนี้ระหว่างปลายพุทธศตวรรษที่ ๘ ถึงพุทธศตวรรษที่ ๙ โดยตั้งเมืองหลวงที่เมืองวิชัยปุระหรือนาคารชุนโกณฑะ สมาชิกฝ่ายสตรีในราชวงศ์นี้เป็นพุทธมามกะได้สร้างวิหารเทวีและวิหารสิงหล ให้เป็นอาสนสถานของพระสงฆ์จากลังกา และสร้างชัยตยฆระ ถวายแด่ฝ่ายพระเถรีจากลังกาความสัมพันธ์ทางพระพุทธศาสนาของลังกาและอินเดียแถบอานธรประเทศในยุคนี้มีความใกล้ชิดกันเป็นอย่างมาก
ทศชาติชาดก เรื่อง มโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 166
มโหสถระดมคนงานราว ๖,๐๐๐คน ให้ช่วยกันขุดกรวดทรายและดิน ขนออกมาด้วยกระทงหนังขนาดใหญ่ แล้วเทลงในแม่น้ำจนน้ำขุ่นคลัก แม่น้ำนั้นก็ไหลผ่านไปถึงปัญจาละนคร ชาวเมืองต่างได้รับความเดือดร้อน ก็พากันบ่นอุบว่า “โธ่เอ๋ย ไม่น่าเลย ตั้งแต่มโหสถมานี่ ยังไม่ทันไร ก็สร้างความลำบากให้พวกเราเสียแล้ว น้ำขุ่นคลักอย่างนี้ พวกเราจะไปหาน้ำใสๆ ดื่มกินกันได้ที่ไหน”