จี้พระนักเผยแผ่ “อย่ามัวแต่จำวัด”
เกิดในโลก แต่ไม่ติดในโลก
ดอกบัวอาศัยเกิดในน้ำและเปือกตม แต่เมื่อเจริญโผล่พ้นผิวน้ำแล้ว กลับไม่ติดด้วยน้ำและเปือกตม เป็นธรรมชาติที่น่าอัศจรรย์ทีเดียว
วิธุรบัณฑิต บำเพ็ญสัจบารมี (๓)
ในระหว่างทางอาจมีปัญหาและอุปสรรคต่างๆ เกิดขึ้นบ้าง แต่สิ่งเหล่านี้เป็นเพียงเครื่องพิสูจน์กำลังใจของเราเท่านั้น บางปัญหาเราแก้ไขได้
ปัจเจกพุทธภูมิ
ผู้หยั่งลงในความเพียรในกาลก่อนย่อมมีอานิสงส์ ๕ ประการเหล่านี้ คือ ๑.ทำให้ได้บรรลุพระอรหัตตผลในปัจจุบัน ๒.ถ้ายังไม่ได้บรรลุพระอรหัตตผลในปัจจุบัน ย่อมให้บรรลุพระอรหัตตผลในเวลาใกล้จะตาย ๓.ถ้าไม่เป็นอย่างนั้น จะเป็นเทวบุตรบรรลุพระอรหัตตผล ๔.ถ้าไม่อย่างนั้น จะเป็นขิปปาภิญญาตรัสรู้ได้เร็ว ในเมื่ออยู่ต่อพระพักตร์พระพุทธเจ้าทั้งหลาย ๕.ถ้าไม่เป็นอย่างนั้น ในภพสุดท้ายจะเป็นพระปัจเจกพุทธเจ้า
ถ้าเราไปซื้อปลาที่มันชามาปล่อยให้มันตายเองสียก่อน แล้วเอามาทำอาหาร อย่างนี้จะบาปไหม
ปลาช่อนที่เขาเอามาขายมันเริ่มชาแล้ว อย่างไรเสียอีกไม่นาน มันก็ต้องตายเอง เราไปซื้อปลาที่มันชา เอามาบ้านแล้วปล่อยให้มันตายเองสียก่อน แล้วเอามาทำอาหาร อย่างนี้จะบาปไหม
ความไม่ประมาท เป็นทางอมตะ
ความไม่ประมาท เป็นทางอมตะ ความประมาท เป็นทางแห่งความตาย ผู้ไม่ประมาท ไม่มีวันตาย ผู้ประมาท ถึงมีชีวิตอยู่ก็เหมือนคนตายแล้ว
อารมณ์ก่อนตายของคนเราจะปรากฏภาพนิมิตให้เห็นความชั่วและความดี
ถ้าผู้นั้นจะได้ไปเกิดเป็นเทพบุตร ธิดา ในสวรรคเทวโลกเขาย่อมเห็นคตินิมิตเป็นทิพยวิมาน เห็นปราสาทราชวังอันสวยงาม เขาจะหลับตายอย่างสุขสงบ
ตามเห็นกายในกาย
ข้าแต่พระโคดม หม่อมฉันเป็นผู้อันพระองค์ให้เกิดแล้ว รูปกายของพระองค์นี้ หม่อมฉันทำให้เจริญเติบโต ส่วนพระธรรมกายอันน่ารื่นรมย์ของหม่อมฉัน พระองค์ทำให้เจริญเติบโตแล้ว หม่อมฉันให้พระองค์ดูดดื่มน้ำนม อันระงับเสียได้ซึ่งความอยากชั่วครู่ แม้น้ำนม คือ พระสัทธรรมอันสงบ ระงับความกระหายทุกอย่าง พระองค์ก็ให้หม่อมฉันดูดดื่มแล้ว
บุพกรรมใดตายไปเป็นเปรตโครงกระดูก
เปรต คือ อดีตมนุษย์หรือเทวดาที่เคยทำบาปหนักได้ชดใช้กรรมส่วนใหญ่ในมหานรก อุสสทนรก และยมโลกแล้วแต่ยังมีเศษกรรมอยู่ทำให้ต้องมาเกิดเป็นเปรตมีความทุกข์ทรมานแสนสาหัส
มหาธรรมยาตราธุดงค์ธรรมชัย เพื่อความเข้าใจที่ถูกต้อง
มหาธรรมยาตราธุดงค์ธรรมชัย คืออะไร ธรรมยาตรา คำนี้ หลายคนอาจไม่เคยได้ยิน แต่คำนี้มีมานานแล้ว โดยมีวัตถุประสงค์คือ เพื่อปฏิบัติสมาธิในท่าเดิน ฝึกสติ และสืบทอดธรรมเนียมที่มีมาแต่โบราณกาล คือ การเดินจาริก "ธรรมจาริก"