ความบริสุทธิ์แห่งทาน
ดูก่อนอานนท์ ก็ทักษิณาชื่อว่าบริสุทธิ์ทั้งฝ่ายทายก และฝ่ายปฏิคาหกอย่างไร ดูก่อนอานนท์ ในข้อนี้ ทายกก็เป็นผู้มีศีลมีธรรมงาม ปฏิคาหกก็เป็นผู้ศีล มีธรรมงาม
สังคหวัตถุ-4-หลักการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ
ท่านทั้งหลายทราบหรือไม่ว่า การที่เรามาอยู่ร่วมกันในสังคมนั้นต้องปฏิบัติตนอย่างไร จึงจะอยู่ร่วมกันได้อย่างมีความสุข พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ท่านทรงได้ให้หลักธรรมในการดำเนินชีวิตในสังคมอย่างเป็นสุขคือ สังคหวัตถุ 4 ซึ่งประกอบด้วยหลักธรรม 4 ข้อ ได้แก่ ทาน ปิยวาจา อัตถจริยา และ สมานัตตา โดยมีรายละเอียดแต่ละข้อดังนี้
เสนอเลิกจับสลาก ให้สอบเข้าม.1-ม.4
กฐินทาน กาลทานที่มีผลานิสงส์มาก
คำสอนในพระพุทธศาสนากล่าวว่า “ทาน” หรือ “การให้” เป็นความดีที่เป็นสัมมาทิฐิเบื้องต้นของมนุษย์ทุกคน เพราะทั้งการให้ การแบ่งปัน หรือการสงเคราะห์ ล้วนเป็นคุณธรรมที่เกื้อกูลกันระหว่างชีวิตต่อชีวิต เป็นพื้นฐานความดีที่จะช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตให้มีความเจริญก้าวหน้าต่อไป ดังเช่น พระสัมมาสัมพุทธเจ้าในครั้งยังสร้างบารมี กว่าพระองค์จะทรงประสบความสำเร็จขั้นสูงสุดในชีวิต คือการตรัสรู้ธรรม พระองค์ก็ทรงอาศัยการทำทานเป็นจุดเริ่มต้นของการสั่งสมความดี
วัดปลอดเหล้า-ปลอดอบายมุข รณรงค์เข้มติดป้ายทุกวัดจังหวัดเลย
วธ.เผยโฉมตราสัญลักษณ์ 8 รอบ สมเด็จพระสังฆราช
กระทรวงวัฒนธรรมเผยโฉมตราสัญลักษณ์ทรงเจริญพระชันษาครบ 8 รอบ 96 ปี สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ซึ่งมีความงดงามสมพระเกียรติ
เป็น อยู่ คือ... วิถีชาวพม่า
ประชากร พม่าเป็นประเทศที่รวมกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ ไว้มากถึง 135 กลุ่ม ประกอบด้วยเชื้อชาติหลักซึ่งมีจำนวนประชากรค่อนข้างมากและมีความเป็นมาทางชาติพันธุ์เด่นชัด 8 กลุ่ม ได้แก่ พม่า ไทใหญ่ กะเหรี่ยง ยะไข่ จีน มอญ อินเดีย กะฉิ่น แต่ละกลุ่มมีเอกลักษณ์ด้านภาษาและวัฒนธรรมแตกต่างกันไป
อบรม Superviser รอบ Beginner Course ม.พะเยา
ชมรมพุทธศาสตร์สากลฯ จัดอบรม Superviser รอบ Beginner Course โครงการตอบปัญหาธรรมะทางก้าวหน้าครั้งที่ 31 ณ มหาวิทยาลัยพะเยา จังหวัดพะเยา
แพทย์เตือนภัยติดตั้งถังแก๊สในรถเหมือนพกระเบิด3พันปอนด์
ขอเชิญร่วมสนับสนุนการจัดพิมพ์หนังสือในวาระครบ 4 รอบ 48 ปี วัดพระธรรมกาย
ขอเชิญร่วมสนับสนุนการจัดพิมพ์หนังสือในวาระครบ 4 รอบ 48 ปี วัดพระธรรมกาย เพื่อไว้เป็นเครื่องระลึกนึกถึงบุญที่พวกเราทุกคนได้มา สร้างบุญบารมีร่วมกับมหาปูชนียาจารย์ และบันทึกบุญเพื่อเป็นประวัติศาสตร์ชีวิตให้กับตนเอง และเป็นต้นบุญต้นแบบให้กับลูกหลานที่จะมาสืบทอดมโนปณิธานของมหาปูชนียาจารย์ต่อไปในอนาคต