โทษภัยของการพูดโกหก ผิดศีลข้อที่ ๔
ความวุ่นวายที่เกิดบนโลก โดยส่วนใหญ่แล้วมักจะเกิดจากการพูดจาโกหก หลอกลวง กลับกลอกกลับไปกลับมา เรามักจะพบเห็นอยู่ทุกเมื่อเชื่อวัน ไม่เว้นเด็กเว้นผู้ใหญ่ มีหน้าตาฐานะทางสังคมอย่างไรและไม่มีกำแพงชนชาติมากีดกัน ซึ่งมักจะใช้คำสั้น ๆ ว่า “ เด็กเลี้ยงแกะ ” เป็นข้อความที่บ่งชี้ให้เห็นว่าบุคคลนั้น ๆ ที่ถูกประณามเป็นคนพูดโกหก พูดหลอกลวง ทำให้ผู้อื่นหลงเชื่อ ซึ่งถือว่าผิดศีลห้าในข้อที่ ๔ นั่นเอง ที่มีชื่อว่า มุสาวาท
กปิชาดก ชาดกว่าด้วยการโกหกหลอกลวง
ดาบสน้อยกำลังจะเอื้อมมือเปิดประตูให้แขกผู้มาขอพักหนาว ทันใดนั่นเองพระฤาษีผู้เป็นบิดาก็คว้าคบไฟชิงก้าวตัดหน้าออกไปก่อน “ ช้าก่อนดาบสน้อยของพ่อ อาคันตุกะตัวนี้มิใช่ฤาษีที่ไหนหรอกลูก หากแต่เป็นผู้หลอกลวงเรา ด้วยเอาหนังเสือและชฎาจากซากศพฤาษีที่ตายแล้วมาห่ม หวังพักผิงไฟแก้หนาวก็เท่านั้น ”
ศีล 5 กับกลอนสุนทรภู่
สุนทรภู่แต่งกลอนไว้มากมาย ในผลงานต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น พระอภัยมณี นิราศภูเขาทอง ภายในบทกลอนนั้นมีกลิ่นอายของสังคมในยุคนั้นที่ผสมผสานวัฒนธรรมและศาสนา วันนี้เรามาพิจารณา ศีล 5 ที่ปรากฏในบทกลอนกัน
1 เมษายน วันโกหก
วันโกหก คืออะไร เป็นวันโกหกแล้วเราโกหกได้จริงหรือ โกหกในวันนี้บาปไหม โกหกตกนรกใช่หรือไม่ ติดตามความจริงของ 1 เมษายน วันโกหก April Fool's Day ได้ที่นี่ค่ะ . . .
กลิ่นศีล กลิ่นธรรม
ถ้าอยากรู้ว่าเรามีความสะอาดในการกล่าววาจามากน้อยแค่ไหน พระอรรถกถาจารย์ได้วินิจฉัยไว้ ดังนี้ คือ 1. พูดเรื่องไม่จริง 2. มีจิตคิดจะพูดให้ผิดไปจากความจริง 3. พยายามพูดให้ผิดจากความจริง 4. คนฟังเข้าใจความหมายตามที่พูดนั้น
โทษของการพูดโกหก
เพราะฉะนั้นแล บัณฑิตทั้งหลายไม่สรรเสริญฉันทาคติ คือความลำเอียงเพราะรัก บุคคลไม่พึงเป็นผู้ที่มีจิตถูกฉันทาคติประทุษร้าย พึงกล่าวแต่คำที่อิงคำสัตย์เท่านั้น
ดื่มไวน์เพื่อเจริญอาหารถือว่าผิดศีลข้อที่ ๕ หรือไม่
ไวน์ เป็นเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์น้อยก็จริง แต่ก็เป็นของมึนเมาชนิดหนึ่ง ดื่มเป็นประจำ เพื่อกระตุ้นน้ำย่อยให้เจริญอาหารหรือเพื่ออะไรก็ตาม ดื่มไม่ช้าไม่นานก็ติด ติดไวน์ไม่นานต้องวายวอดแน่ เพราะไวน์ราคาแพงไม่ใช่เล่น ได้ยินว่าไวน์บางขวดราคาเป็นหมื่น
มงคลที่ ๖ ตั้งตนชอบ - สั่งสมบุญเพื่อตนเอง
เทพธิดาผู้ได้สั่งสมบุญไว้อย่างดีแล้วในครั้งที่เป็นมนุษย์ ได้เป็นผู้สำรวมด้วยดีในศีล ที่ได้สมาทานไว้ เป็นผู้งดเว้นจากปาณาติบาต เว้นห่างไกลจากอทินนาทาน จากการประพฤติผิดในกาม เว้นขาดจากมุสาวาท และจากการดื่มน้ำเมา เป็นผู้ยินดีในสิกขาบททั้ง ๕ และมีดวงตาเห็นธรรมแทงตลอดในอริยสัจ แล้วผลบุญจะเป็นเ่ช่นไรนั้น
โอวาทปาฏิโมกขาทิปาโฐ
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๙)
สำหรับในฉบับที่แล้วนั้น ผู้เขียนได้พาท่านผู้อ่านให้ย้อนกลับไปรู้จักกับประวัติศาสตร์ของ “พระธรรมจักรศิลา” และความเชื่อมโยงกันของการที่พระพุทธศาสนาได้เริ่มเข้ามาสู่ดินแดนสุวรรณภูมิแห่งนี้ เมื่อราวพุทธศตวรรษที่ ๑๑ หรือประมาณ ๑,๔๐๐ กว่าปีล่วงมาแล้ว