เกฬิสีลชาดก ชาดกว่าด้วยปัญญาสำคัญกว่าร่างกาย
พระเจ้าพรหมทัตทรงครองราชสมบัติอยู่ ณ กรุงพาราณสี พระองค์ทรงชอบการกลั่นแกล้งทรมานคนแก่ชราและสัตว์ที่แก่ไร้เรี่ยวแรง นำมากลั่นแกล้งในรูปแบบต่าง ๆ จนท้าวสักกะทนไม่ไหวจำต้องเสด็จลงมาใช้อุบายทำการสั่งสอนให้พระองค์ได้ทรงสำนึกในการกระทำที่ไม่สมควร
ตัณฑุลนาฬิชาดก ชาดกว่าด้วยการตีราคาสินค้า
พนักงานตีราคาคนใหม่ผู้มีนิสัยตระหนี่ เห็นแก่ได้ โลภมาก สามารถตีราคาสินค้าเอาเปรียบพ่อค้าจากเมืองใกล้ไกลได้กำไรมากมาย จนเป็นที่ถูกอกถูกใจพระเจ้าพรหมทัต ต่อมาเขาได้รับสินบนจากพ่อค้าม้าคนหนึ่งจนเป็นเหตุซึ่งทำให้เขาถูกไล่ออกจากวังในที่สุด
วิโรจนชาดก ชาดกว่าด้วยสุนัขจิ้งจอกไม่เจียมตัว
พระเทวทัตเถระมีญาณเสื่อมบังเกิดอิจฉาริษยาในบารมีของพระพุทธองค์และบังอาจตั้งกฎขึ้นปกครองสงฆ์ขึ้นแข่งขัน แต่พระพุทธองค์ไม่ทรงอนุญาตนำมาปฏิบัติ พระเทวทัตซึ่งถือตนว่าเป็นพระญาติและมีทุกสิ่งทัดเทียมเช่นกันกับพระพุทธเจ้าเมื่อถูกขัดใจก็ขุ่นเคืองจึงวางแผนแยกคณะสงฆ์ออกจากพระศาสดา และได้ทำการชักชวนภิกษุบวชใหม่ในสำนักของพระโมคคัลลาและสำนักพระสารีบุตรจำนวน ๕๐๐ รูปให้ติดตามไปตั้งคณะสงฆ์ใหม่
อนุสาสิกชาดก ชาดกว่าด้วยเรื่องดีแต่พูด
ในนครสาวัตถี ยังมีภิกษุณีผู้ชอบพร่ำสอนอยู่รูปหนึ่ง มีนิสัยชอบสั่งสอนและมักห้ามภิกษุณีรูปอื่น ๆ มิให้เข้าไปในที่หวงห้าม แต่ตนเองก็มิได้กระทำตนเป็นแบบอย่างที่ดี กลับละเมิดเข้าไปในที่หวงห้ามเสียเอง
กุมมาสปิณฑชาดก ชาดกว่าด้วยอานิสงส์ถวายขนมกุมมาส
ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ อะไรหนอเป็นเหตุ เป็นปัจจัยในการแย้มสรวลของพระองค์ ” “ ดูกร อานนท์ กุมาริกาผู้นี้จักได้เป็นอัครมเหสีของพระเจ้าโกศลในวันนี้ทีเดียว เพราะผลแห่งการถวายก้อนขนมกุมมาสเหล่านี้ ”
คนในความลับ
คนดีในความลับคือชอบปิดทองหลังพระ ให้โดยไม่ได้หวังประโยชน์หรือลาภยศสรรเสริญ
เก่งคนให้สมเป็นนาย
การบริหารคนในองค์กรนั้นไม่ใช่เรื่องง่าย ผู้นำจำเป็นที่จะต้องรู้จักและเข้าใจคนแต่ละคนแต่ละประเภทในองค์กร เพื่อดึงศักยภาพของเขามาใช้สร้างความสำเร็จอย่างเต็มที่
ธรรมยาตรา มหากุศล
บุญใหญ่ “ธรรมยาตรา เส้นทางพระผู้ปราบมาร” เป็นมหากุศลบุญพิเศษที่หนึ่งปีมีเพียงครั้งเดียว และในปีนี้ตรงกับวันที่ 2-31 มกราคม 2567
สร้างมหาวิหาร มหาทานข้ามชาติ
การให้ทาน เป็นเครื่องฝึกจิตที่ยังไม่ได้ฝึก การไม่ให้ทาน เป็นเครื่องประทุญร้ายจิตที่ฝึกแล้ว (ปฐมทานสูตร)
มงคลที่ ๑๕ บำเพ็ญทาน - อานิสงส์ทำบุญทอดกฐิน
นายติณบาลทำงานให้เศรษฐีด้วยความขยันขันแข็ง วันหนึ่ง บุญเก่ามาตักเตือน ทำให้คิดได้ว่า "ตัวเรายากจนเช่นนี้ ก็เพราะไม่เคยทำบุญไว้ในชาติปางก่อน ชาตินี้จึงต้องมาเป็น คนรับใช้ แม้สมบัติติดตัวสักนิดก็ไม่มี ทั้งยังไร้ญาติขาดมิตรที่จะคอยช่วยเหลือ"