กัณหชาดก ชาดกว่าด้วยผู้เอาการเอางาน
ในอาณาจักรอันยิ่งใหญ่ของมคธรัตนนั้น มีความยิ่งใหญ่และสำคัญยิ่งของพุทธศาสนาควบคู่อยู่ด้วยกันหลายประการ หนึ่งในนั้นคือ พระเวฬุวณาราม ซึ่งเป็นวัดแห่งแรกของพระพุทธศาสนาก็ได้สร้างขึ้น ณ ดินแดนแห่งนี้ โอวาทปาฏิโมกข์ที่พระพุทธองค์ทรงแสดงแก่อริยสาวก 1,250 รูป และการบัญญัติพระธรรมวินัยในหลายสิกขาบท
ทศชาติชาดก เรื่อง พระมหาชนก ผู้ยิ่งด้วยวิริยบารมี ตอนที่ 19
นารทดาบสต้องการให้พระโพธิสัตว์สมาทานมั่น จึงถวายข้อคิดว่า “พระองค์ เพียงแต่ทรงเพศบรรพชิตนี้ จะสำคัญว่า เราข้ามพ้นกิเลสแล้วหาได้ไม่ กรรมคือกิเลสนี้ ไม่ใช่ว่าจะพึงข้ามได้ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ เพราะยังมีอันตรายอยู่มาก”
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 117
ทันใดนั้น พระเจ้าจุลนีจึงทรงประกาศขึ้นในท่ามกลางมหาสมาคมว่า“มา เถิดท่านทั้งหลาย บัดนี้ถึงเวลาแล้วที่เราจะต้องห้ำหั่นมิถิลาให้เป็นจุณ วิเทหราชหรือจะรอดพ้นเงื้อมมือของเราไปได้ เมื่อจับท้าววิเทหะผู้ทรนงตนเสียได้ เราก็จักบั่นศีรษะของมันเสียด้วยพระขรรค์เล่มนี้ล่ะ
อัธยาศัยของมนุษย์ (๒)
บุคคลบางคนในโลกนี้ เป็นผู้มักโกรธ มากไปด้วยความแค้นใจ ถูกว่าแม้เล็กน้อยก็ขัดเคืองฉุนเฉียว กระฟัดกระเฟียดกระด้างกระเดื่อง แสดงความโกรธความขัดเคือง และความไม่พอใจให้ปรากฏ แต่เขาเป็นผู้ให้ทาน คือ ข้าว น้ำ ผ้า ยวดยาน ระเบียบของหอม เครื่องลูบไล้ ที่นอน ที่อยู่อาศัย และประทีปโคมไฟ แก่สมณพราหมณ์ และไม่เป็นผู้มีใจริษยาในลาภ สักการะ ความเคารพ ความนับถือ การไหว้ และการบูชาของผู้อื่น ไม่กีดกัน ไม่ตัดรอน ไม่ผูกความริษยา ถ้าบุคคลนั้น จุติจากอัตภาพนั้นไปสู่สัมปรายภพ แล้วกลับมาเกิดอีก ย่อมเป็นผู้มีผิวพรรณทราม รูปไม่งาม แต่จะเป็นคนมั่งคั่ง มีทรัพย์มาก มีโภคสมบัติมากและสูงศักดิ์
5 กฎเล็กสุขภาพดีสไตล์ชีวจิต
“อุดม แต้พานิช” ออก เดี่ยวไมโครโฟน 40 รอบ
ความแตกต่างของพระพุทธเจ้าแต่ละพระองค์
พระพุทธเจ้าแต่ละพระองค์ทรงมีความแตกต่างกันบางประการ เช่น พระชนมายุ พระสรีระ เวลาบำเพ็ญทุกกิริยาในพระชาติสุดท้าย ความต่างแห่งพุทธรังสี ความต่างแห่งตระกูล เป็นต้น
เก่งคนให้สมเป็นนาย
การบริหารคนในองค์กรนั้นไม่ใช่เรื่องง่าย ผู้นำจำเป็นที่จะต้องรู้จักและเข้าใจคนแต่ละคนแต่ละประเภทในองค์กร เพื่อดึงศักยภาพของเขามาใช้สร้างความสำเร็จอย่างเต็มที่
ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาในจีน
จากอดีตที่ผ่านมา ยุคใดที่กษัตริย์จีนเลื่อมใสพระพุทธศาสนา พุทธศาสนาก็จะได้รับการฟื้นฟูและเจริญรุ่งเรือง.....แต่ยุคใดที่กษัตริย์ยกย่องพระพุทธศาสนาเพียงบางคราวเพื่อผลทางการเมืองหรือนับถือลัทธิความเชื่ออื่น พุทธศาสนาก็จะเสื่อมโทรมหรือถูกทำลาย
อานิสงส์การให้ทาน
ในสมัยพระปทุมุตตรสัมมาสัมพุทธเจ้ามีชาวนาผู้ใจบุญท่านหนึ่ง ได้ฟังธรรมจากพระบรมศาสดาแล้ว ก็อยากถวายข้าวสารใหม่ที่ตัวเองลงมือเก็บเกี่ยวกับมือแด่พระพุทธองค์พระองค์ทรงทราบความตั้งใจดีของชาวนาแล้วจึงตรัสสัมโมทนียกถาเพื่อเพิ่มพูนศรัทธาว่า “ชื่อว่าสงฆ์เป็นผู้ปฏิบัติตรง มีปัญญาและศีลมีจิตมั่นคง ทานที่ถวายในสงฆ์ย่อมมีผลมาก