มงคลที่ ๑๕ บำเพ็ญทาน - อสทิสทาน
การให้ทานจะนำเราไปสู่ชีวิตที่สมบูรณ์ เป็นบันไดไปสู่สวรรค์นิพพาน การทำบุญด้วยเจตนาบริสุทธิ์ หวังบุญบารมีเป็นที่ตั้งนั้น จะได้รับอานิสงส์อย่างที่เราคาดไม่ถึง ยิ่งทำถูกเนื้อนาบุญ ผลบุญนั้นก็จะเป็น มหัคคตกุศล ไม่อาจที่จะนับคำนวนบุญที่เกิดขึ้นได้ ว่ามีประมาณเท่าใด การที่เรามีโอกาสทำบุญกับพระภิกษุสามเณร ๑๐๐,๐๐๐ รูป ในเวลาเดียวกันนี้ เป็นความอัศจรรย์ของโลก
เจริญสังฆานุสติ
พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า เป็นผู้ปฏิบัติดีแล้ว ข้าพเจ้าขอนอบน้อมแด่พระสงฆ์
บุญเท่านั้นที่ปรารถนา
บัณฑิตทั้งหลาย สรรเสริญความไม่ประมาทในการสั่งสมบุญ เพราะผู้ไม่ประมาทย่อมยึดเอาประโยชน์ทั้งสองไว้ได้ คือประโยชน์ในปัจจุบันนี้และประโยชน์ในสัมปรายภพ
ตักบาตรฉลองพระใหม่ วันเสาร์ที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2562
ขอเชิญร่วมทำบุญตักบาตรฉลองพระใหม่ ในโครงการอุปสมบท รุ่นเข้าพรรษา ปีพุทธศักราช 2562 ในวันเสาร์ที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 ณ เมนโรดทิศเหนือ มหารัตนวิหารคด วัดพระธรรมกาย
รอยพระบาทริมฝั่งนัมมทานที
บุญอันล้ำเลิศย่อมเจริญแก่ชนทั้งหลาย ผู้เลื่อมใสแล้วในบุคคลผู้เลิศ อายุ วรรณะ ยศ เกียรติ ความสุข และกำลังอันเลิศก็เจริญ ผู้มีปัญญาให้ของอันเลิศ ตั้งมั่นแล้วในธรรมอันเลิศ เป็นภูตหรือเทวดาก็ตาม เป็นมนุษย์ก็ตาม ย่อมเข้าถึงความเป็นเลิศ บันเทิงใจอยู่ นี้เป็นขุมทรัพย์ที่อำนวยสมบัติทุกอย่าง ทั้งแก่เทวดา และมนุษย์ทั้งหลาย
มโหสถบัณฑิต ตอนที่ ๑๓ ( ปัญญาประเสริฐกว่าทรัพย์ )
เสนกะทูลว่า " ข้าแต่พระมหาราชเจ้า มโหสถยังเด็ก แม้ทุกวันนี้ปากของเธอยังไม่สิ้นกลิ่นน้ำนม มโหสถจะรู้อะไร ฝูงนกบินไปบินมาตามต้นไม้ในป่าที่มีผลดกฉันใด ชนเป็นอันมากย่อมคบหาสมาคมผู้มั่งคั่งมีโภคทรัพย์มาก เพราะความต้องการด้วยทรัพย์ ฉันนั้น เพราะฉะนั้น คนมีสิริสมบัติเท่านั้นเป็นคนประเสริฐ "
เดินตามทางของบัณฑิต ตอนที่ ( ๗ )
พระคุณเจ้าจงบริโภคภัตอันวิเศษนี้เถิด เพราะสุธาโภชน์ที่บริโภคแล้วนั้น ย่อมขจัดบาปธรรมได้ถึง ๑๒ ประการ คือ ความหิว ความกระหาย ความกระสัน ความกระวนกระวาย ความเหน็ดเหนื่อย ความโกรธ ความเข้าไปผูกโกรธ ความวิวาท ความส่อเสียด ความหนาว ความร้อน และความเกียจคร้าน ภัตนี้มีรสอันเลิศ เป็นสิ่งสมควรแก่ท่านผู้มีคุณธรรมสูงส่ง
มงคลที่ ๒ คบบัณฑิต - สัมมาทิฏฐิ ( ๔ )
สำหรับตอนนี้ มีเรื่องในอดีตชาติของท่านอุรุเวลกัสสปะมาเล่าต่อจากครั้งที่แล้ว ที่พระพุทธองค์ตรัสไว้ว่า ไม่ใช่เฉพาะในภพชาตินี้เท่านั้น ที่พระองค์ทำลายความเห็นผิดของท่านอุรุเวลกัสสปะ
มงคลที่ ๒๔ มีความสันโดษ - รู้จักพอ ก่อให้เกิดสุข
การเปลี่ยนแปลง คือ การแสวงหา นั่นคือ สัญญาณบอกให้เรารู้ว่า เรายังไม่พบของที่ดีจริง จึงเบื่อหน่ายเร็ว หายเห่อเร็ว เมื่อเบื่อก็เปลี่ยนแปลง แสวงหากันต่อๆ ไปอย่างนั้น การแสวงหาที่ไม่มีที่สิ้นสุดนี้แหละ ที่เรียกว่าไม่สันโดษ
บวชสามเณรล้านรูป พร้อมคำอธิษฐานจิตเสียงหลวงพ่อ