Case Study คุณพ่อพันเอกอุดร ตอนที่ 1
คำถามข้อที่ 1.คุณพ่อของลูกตายแล้วไปไหน ท่านมีความเป็นอยู่ในปรโลกเป็นอย่างไร และท่านมีข้อความอะไรฝากมาถึงลูกและครอบครัวบ้างไหมคะ
อานิสงส์ถวายน้ำสรงสนาน
สัปบุรุษบริจาคทานมากแล้ว ก็ไม่รู้สึกเสียดาย ท่านผู้มีปัญญาเห็นแจ้ง ย่อมสรรเสริญทานที่สัปบุรุษให้แล้วอย่างนี้ บัณฑิตผู้มีศรัทธา มีใจอันสละแล้ว บริจาคทานอย่างนี้แล้ว ย่อมเข้าถึงโลกอันไม่มีความเบียดเบียน มีแต่ความสุข
เห็นพระเล่นเกมส์เลยไม่อยากทำบุญ
คำถาม : ถ้าไปทำบุญที่วัดแล้วเห็นพระท่านนั่งเล่นเกมส์ในมือถือ ดูฟุตบอลในทีวี ทำให้ไม่อยากทำบุญด้วย คิดแบบนี้เราจะบาปไหมคะ แล้วพระท่านจะบาปไหมคะ
อาจิณณกรรม
ภัยของสัตว์ผู้เกิดมาแล้ว ย่อมมีเพราะต้องตายแน่นอน เหมือนภัยของผลไม้สุก ย่อมมีเพราะต้องหล่นในยามเช้าฉะนั้น
คิดผิดคิดใหม่ได้ (๒)
ดูก่อนสารีบุตร เราย่อมกำหนดรู้ใจของบุคคลบางคนในโลกนี้ว่า บุคคลนี้ปฏิบัติอย่างนั้น ดำเนินชีวิตอย่างนั้น และขึ้นสู่หนทางนั้นแล้ว เบื้องหน้าแต่ตายเพราะกายแตก จักเข้าถึงอบาย ทุคติ วินิบาต นรก โดยสมัยต่อมา เราย่อมเห็นบุคคลนั้นหลังจากตายไปแล้ว เข้าถึงอบาย ทุคติ วินิบาต นรก แล้วเสวยทุกขเวทนาอันแรงกล้าเผ็ดร้อนโดยส่วนเดียว ด้วยธรรมจักขุอันบริสุทธิ์ ล่วงจักษุของมนุษย์ทั้งหลาย
รอดพ้นอบายได้ด้วยบุญ
หากคุณพ่อของลูกไม่มีบุญดังกล่าวมาช่วยอุ้มท่านไว้ ตัวท่านก็จะต้องไปเกิดเป็นสัตว์นรก
บิดเบือนคำสอน-ที่นี่มีคำตอบ
การที่นักการศาสนาหลายท่านสอนให้เข้าใจเรื่องบุญบาป นรกสวรรค์แบบผิดๆ ถ้าเป็นเพียงความเข้าใจผิด จะมีวิบากกรรมเช่นไร และถ้ามีเจตนาต้องการบิดเบือนคำสอน จะมีวิบากกรรมเช่นไร
ทำบุญใดถึงได้ไปสวรรค์ในแต่ละชั้น
การกระทำกุศลของมนุษย์นั้นแตกต่างกัน คนที่มีศรัทธาและมีปัญญา มีความเชื่อเรื่องบุญ เรื่องบาป ย่อมสามารถสร้างบุญได้มาก ได้ประณีต ได้ละเอียด และปลื้มปีติในบุญมากกว่าบุคคลที่ทำบุญเพราะทำตามประเพณี หรือทำบุญเพื่อหวังผลบางอย่าง
จอมเทพอสูร
ดูก่อนอสูรผู้ใจบาป เราทั้งปวงนี้มีความประสงค์จะขออภัย ไยท่านกล้ามาให้ซึ่งภัยเสียเล่า เราใคร่จะขอรับแต่อภัยอย่างเดียว เมื่อท่านมาให้ภัยกระนี้ เรามิรับดอก ภัยนั้นจงตกอยู่กับตัวท่านเองเถิด สัมพรอสูรเอ๋ย
กรรมที่ทำให้คนอื่นแท้งลูก
บุคคลทำกรรมใดแล้ว เดือดร้อนใจภายหลัง มีหน้านองด้วยน้ำตาร้องไห้อยู่ เสวยผลแห่งกรรมใด กรรมนั้นทำแล้วไม่ดีเลย บุคคลทำกรรมใดแล้ว ไม่เดือดร้อนในภายหลัง มีหัวใจแช่มชื่นเบิกบาน เสวยผลแห่งกรรมใด กรรมนั้นทำแล้วเป็นการดี บุคคลรู้กรรมใดว่าเป็นประโยชน์แก่ตน ควรลงมือกระทำกรรมนั้นก่อน