พระนี้มีเจ้าของ
ตั้งแต่นั้นมาป้าจวบก็พกพระของขวัญติดตัวตลอดเวลา ไม่ว่าจะออกไปไหน ไปจ่ายตลาด หรือไปขายข้าวแกงไม่เคยให้ห่างจากตัวเลย และเมื่อป้าจวบกับลูกสาวได้รู้ว่า คุณครูไม่ใหญ่กล่าวว่า “พระของขวัญนี้ท่านมีชีวิต ไปไหนมาไหนได้ แล้วที่สำคัญท่านมีเจ้าของ” ทั้งคู่ก็ถึงกับอึ้ง ทึ่ง และก็ขนลุกไปตามๆกัน และถ้ามีโอกาสทั้งสองแม่ลูกก็อยากจะมาร่วมงานทอดกฐินหลวงปู่ ในวันที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ.2551 นี้ด้วย
ช่วงเด่นฝันในฝันรอดตาย เพราะพระเดชพระคุณหลวงปู่ฯ
ช่วงเวลาที่ได้ขับขึ้นสะพานนั้น ก็ได้เกิดกับเหตุการณ์ที่ไม่ได้คาดฝันคือ รถกระบะที่ขับมายางหน้าเกิดระเบิด ทำให้รถเสียหลักหมุนติ้วอยู่บนสะพาน พอรถหยุดหมุน ปรากฏว่าตำแหน่งของรถขวางอยู่กลางสะพานพอดี และในขณะนั้นเองก็ได้มีรถพ่วงสิบล้อขับขึ้นสะพานมาด้วยความเร็วสูง สิ่งที่ลูกสาวกับลูกชายคิดได้ในตอนนั้นคือ ไม่รอดแน่ๆ
ช่วงเด่นฝันในฝันรักบังตา
แม้ว่า สามีของเธอจะมีอาการทางประสาท แต่เธอก็ไม่รังเกียจ และถึงแม้พ่อแม่ของเธอจะคัดค้าน เพราะไม่ชอบความประพฤติของคนในตระกูลนี้ เธอก็ไม่รับฟังและแต่งงานกับเขาด้วยความรัก...สุดท้าย ชีวิตการครองเรือนของเธอจะเป็นอย่างไร...คำถาม...คนที่มีลูกสาวหรือลูกชาย เป็นเพราะประกอบเหตุมาอย่างไร เราจะอธิษฐานให้ได้ลูกในเพศที่เราปรารถนา ได้หรือไม่
กรณีศึกษากฎแห่งกรรมพี่เลี้ยงจากโจฮันเนสเบิร์ก
พี่เลี้ยงสุปราณี มีลูกสาววัย 5ขวบ ซึ่งชอบมาวัดกับคุณแม่ และมาอยู่เป็นเพื่อนกับคุณแม่ ตอนที่คุณแม่มาเป็น พี่เลี้ยง The Middle Way รุ่นหนึ่ง ซึ่งหมายความว่า การที่ต้องดูแลลูกน้อย วัยกำลังกินกำลังนอนนี้ ไม่ได้เป็นอุปสรรคต่อการทำหน้าที่พี่เลี้ยงอันยิ่งใหญ่ เป็นงานอันทรงเกียรติ ที่คอยพิทักษ์รักษา สิ่งแวดล้อมที่ดี ทำให้ผู้เข้าอบรมรักษาอารมณ์สบาย จนเข้าถึงประสบการณ์ภายใน ในที่สุด
ผลการปฏิบัติธรรมนานาชาติบอกหน่อยได้ไหม, ฝนตกทำไมคล้ายน้ำตา
ผู้หญิงคนหนึ่ง มีชีวิตครอบครัวที่แตกร้าว สามีแยกทางไปมีภรรยาใหม่ ปล่อยให้เธอดูแลลูกๆ 3คน แต่เพียงลำพัง เธอเลี้ยงดูลูกทั้งสามด้วยการถือหลักการทำตัวอย่างให้ลูกเห็น เช่น ไม่พูดโกหก มีสัจจะ อยู่ในศีลห้า และตอบสนองในสิ่งที่ลูกขอ แต่ผลที่ได้รับกลับไม่เป็นไปอย่างที่เธอหวัง ลูกสาวคนโตดูเหมือนจะรักพ่อมากกว่า ส่วนลูกชายคนที่สองตำหนิเธอว่า เข้มแข็งเกินความเป็นหญิง ไม่มีความเป็นแม่ ขาดความอ่อนโยน อ่อนหวาน และที่สำคัญที่สุดคือ ควบคุมเขามากเกินไป...คงมีแต่ลูกสาวคนเล็กที่ดูจะติดแม่ เพราะพ่อจากไปตั้งแต่เธออายุเพียง 6ปี...มาร่วมกันศึกษาชีวิตของเธอ ในแบบของโรงเรียนอนุบาลฝันฝันวิทยา
กรณีศึกษากฎแห่งกรรมฮวงจุ้ย
วิบากกรรมที่เกิดขึ้นกับเราในชาตินี้ ล้วนมาจากผลของการกระทำในอดีตทั้งสิ้น...ผู้หญิงชาวนอร์เวย์คนหนึ่ง เธอต้องมีชีวิตที่ขาดความอบอุ่นจากครอบครัว ต้องถูกส่งไปอยู่สถานรับเลี้ยงเด็กตั้งแต่อายุ 3ขวบ พอโตขึ้นมาก็ต้องย้ายที่อยู่ไปเรื่อยๆ จนชาชินกับการพลัดพราก...เรื่องน่าแปลก แม้จะเป็นชาวนอร์เวย์ แต่ลูกสาวของเธอ กลับมี Sense แบบหมอดูฮวงจุ้ย รู้ว่าที่ไหนอยู่ได้ ที่ไหนอยู่ไม่ได้ ที่ไหนอยู่ดี หรือไม่ดี
กรณีศึกษากฎแห่งกรรมโอนิ
ครอบครัวหนึ่งในประเทศญี่ปุ่น...ลูกสาวเกิดป่วย ต้องเข้ารับการรักษาอยู่ในชั้นของผู้ป่วยเด็กที่มีอาการทางจิตหรือมีสภาพร่างกายไม่สมประกอบ มีอาการไม่ตอบสนองใดๆทั้งสิ้น…คุณแม่ของเธอ นึกขึ้นได้ถึง Case Study เรื่องหนึ่ง ซึ่งเคยได้รับฟังจากโรงเรียนอนุบาลฝันในฝันวิทยา จึงได้ใช้วิธีแก้ไขตามอย่างใน Case นั้น ปรากฏว่า ลูกสาวมีอาการดีขึ้นเรื่อยๆ และหายเป็นปกติได้อย่างอัศจรรย์
กรณีศึกษากฎแห่งกรรมมงคลที่ ๒๒ มีความเคารพ - ขาดความเคารพ พบความพินาศ
วันหนึ่ง ลูกสาวของช่างทอหูกออกจากบ้านไปเก็บดอกบัวที่สระน้ำ เก็บดอกบัวไปพลาง ร้องเพลงไปพลาง สามเณรเหาะไปใกล้บริเวณสระบัวแห่งนั้น เกิดติดใจเสียงขับร้องของนาง กามราคะที่ข่มไว้ด้วยอำนาจฌานสมาบัติก็ฟูขึ้นท่วมทับจิตใจ ทันใดนั้นเอง ฤทธิ์ของสามเณรก็เสื่อม ไม่อาจเหาะได้ ดุจกาปีกหัก
ธรรมะเพื่อประชาชนมงคลที่ ๒๑ ไม่ประมาทในธรรม - อย่างหลงใหลเพลิดเพลิน
สมัยหนึ่งในกรุงราชคฤห์ มีหญิงงามเมืองผู้มีความงดงามคนหนึ่ง ชื่อ สิริมา ได้เคยประทุษร้ายต่อนางอุตตรา ซึ่งเป็นลูกสาวของท่านปุณณเศรษฐี เมื่อสำนึกผิดแล้วได้ขอโทษนางอุตตรา และทูลขอขมาโทษพระบรมศาสดาด้วย ในวันนั้น หลังจากได้ฟังพระธรรมเทศนาจากพระบรมศาสดาว่าพึงชนะคนโกรธ ด้วยความไม่โกรธ พึงชนะคนไม่ดี ด้วยความดี พึงชนะคนตระหนี่ ด้วยการให้
ธรรมะเพื่อประชาชนเธอ...ต้องอดทน
เรื่องของคนสู้ชีวิต...เธอเกิดมาในครอบครัวชาวจีน เป็นลูกสาวคนโต ต้องช่วยทำงานบ้านตั้งแต่เด็กๆ ไม่มีโอกาสได้เรียนหนังสือ ตามความเชื่อของชาวจีนที่ว่า ลูกสาวจะต้องคอยช่วยพ่อ-แม่ทำงาน พอโตขึ้นก็ถูกบังคับให้แต่งงานแบบคลุมถุงชน...เธอและสามีต้องอดทนต่อสู้ชีวิต โดยไม่เคยยอมแพ้ต่อโชคชะตา...มาร่วมกันศึกษาชีวิตของเธอในแบบของโรงเรียนอนุบาลฝันในฝันวิทยา
กรณีศึกษากฎแห่งกรรม