พระศรีอริยเมตไตรย์สัมมาสัมพุทธเจ้า ตอนที่ 83 ปัญญาบารมี
ปัญญาบารมี คือ ความรอบรู้ ความหยั่งรู้เหตุผล ความเข้าใจสภาวะของสิ่งทั้งหลายทั้งปวงตามความเป็นจริง
ภัยของวัฏสงสาร-วงจรชีวิต
คนพาลมักจะดำเนินชีวิตด้วยความประมาท ตายแล้วพลัดไปสู่อบาย ไปเกิดเป็นสัตว์เดรัจฉาน เปรต สัตว์นรก จะกลับมาเกิดเป็นมนุษย์นั้นแสนยาก
กายมนุษย์ทำกรรมดีได้มากที่สุด-วงจรชีวิต
การเกิดมาเป็นมนุษย์แล้วพบเจอพระพุทธศาสนานั้น ถือว่าโชคดีที่สุด เพราะกายมนุษย์มีโอกาสในการทำกรรมดีได้มากกว่าเทวดา สัตว์เดรัจฉาน เปรต สัตว์นรก
วงจรชีวิต-จากการส่งผลของกรรม
สรรพชีวิตเกิดมานับภพนับชาติไม่ถ้วน กรรมดี กรรมชั่ว ที่เคยทำทำมาแล้วมีวิบากนับไม่ถ้วน กรรมที่ทำมาในอดีตชาติส่งผลในอดีตชาติไปแล้วก็มี มาส่งผลถึงชาติปัจจุบันก็มี
อสาตมนต์ชาดก-ชาดกว่าด้วยมนต์มายาหญิง
ณ พระเชตะวันมหาวิหารกาลนั้น มีภิกษุสงฆ์ผู้ตกทุกข์ด้วยเหตุจากอิสตรีเข้ากวนกิเลสมิให้ดื่มด่ำธรรมรสได้ดุจเดิม กิเลสจากหญิงนั้นทำให้บุตรแห่งพระสมณโคดมรูปหนึ่ง มิเป็นอันบำเพ็ญภาวนา
พิจารณาปล่อยวางในขันธ์ ๕
ภาชนะดินที่นายช่างทำแล้วทุกชนิด มีความแตกเป็นที่สุด แม้ฉันใด ชีวิตของสัตว์ทั้งหลายที่เกิดมาแล้ว ล้วนมีความแตกสลายเป็นที่สุดฉันนั้น
พุทธประวัติ
พุทธประวัติพระสัมมาสัมพุทธเจ้าองค์ปัจจุบัน การสร้างบารมีของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าในแต่ละพระองค์ก็สร้างบารมีกันมายาวนาน ทรงเกิดในภพต่างๆ เป็นอันมาก และด้วยการเวียนว่ายตายเกิด ด้วยการฝึกฝนอดทน มุ่งมั่นตั้งใจอย่างมาก จึงเป็นเหตุให้พระพุทธองค์ทรงมีปัญญากว้างขวาง เป็นพระสัพพัญญูรอบรู้ทุกสิ่งทั้งปวง
มงคลที่ ๒ คบบัณฑิต - รักจริงไม่ยอมทิ้งกัน
ภรรยาพระโพธิสัตว์กล่าวปลอบโยนว่า "ข้า แต่นายผู้เจริญ ท่านอย่ากลัวเลย ดิฉันจะอ้อนวอนนายพรานให้ชีวิตแก่ท่าน ถ้าดิฉันอ้อนวอนไม่ได้ ก็จักให้ชีวิตของดิฉันแทน แล้วให้ปล่อยท่านไป" พลางยืนชิดกับพระโพธิสัตว์ผู้มีข้อเท้าที่บาดเจ็บสาหัสอาบไปด้วยโลหิต
มงคลที่ ๑๘ ทำงานไม่มีโทษ - คนกินเดนหรือคนกินซากศพ
ฤๅษีได้ยินนกพูดดังนั้น ต่างถามกันว่า ที่นกแขกเต้าพูดนั้น ชมเราหรือติพวกเรากันแน่ นกพูดขึ้นทันทีว่า เราไม่ได้กล่าวชมพวกท่านหรอก เพราะพวกท่านกินซากศพ ไม่ได้กินเดน ฤๅษีย้อนถามว่า พวกเราได้สละเรือน สละเพศฆราวาสออกบวช ไม่เคยไปเบียดเบียนใคร มีชีวิตอยู่ในป่าด้วยการอาศัยซากสัตว์ที่เสือเหลือง เสือโคร่งล่ามาแล้วทิ้งไว้ อาชีพของเราบริสุทธิ์ ท่านจะมาติเตียนเราได้อย่างไร
มงคลที่ ๒๔ มีความสันโดษ - รู้จักพอ ก่อให้เกิดสุข
การเปลี่ยนแปลง คือ การแสวงหา นั่นคือ สัญญาณบอกให้เรารู้ว่า เรายังไม่พบของที่ดีจริง จึงเบื่อหน่ายเร็ว หายเห่อเร็ว เมื่อเบื่อก็เปลี่ยนแปลง แสวงหากันต่อๆ ไปอย่างนั้น การแสวงหาที่ไม่มีที่สิ้นสุดนี้แหละ ที่เรียกว่าไม่สันโดษ