วัดมเหยงคณ์
วัดมเหยงคณ์ เป็นที่เย็นกายเย็นใจของผู้ได้มาถึง เสมือนได้เข้าสู่มหานครโบราณ ที่สงบร่มเย็นทั้งด้วยบรรยากาศธรรมชาติและด้วยธรรมะปฏิบัติ
วัดเทวสังฆาราม (วัดเหนือ)
วัดเทวสังฆาราม ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. ๒๓๔๘ เป็นวัดเก่าแก่โบราณวัดหนึ่งในจังหวัดกาญจนบุรีมีความสำคัญในทางประวัติศาสตร์ ตั้งอยู่ตำบลบ้านเหนือ ชาวบ้านทั่วไปเรียกกันติดปากว่า "วัดเหนือ"
วัดป่างิ้ว
วัดป่างิ้ว ได้รวม วัดพญาเมือง ทางคลองด้านใต้และ วัดนางหยาด ทางคลองด้านเหนือเข้าด้วยกันเป็น วัดป่างิ้ว ตามชื่อท้องถิ่นบ้านงิ้วมีเนื้อที่ ๙๐ ไร่เศษ รูปแบบการก่อสร้างละม้ายไปตามความนิยมของท้องถิ่น ซึ่งเป็นชาวมอญเสียส่วนมาก
วัดพิกุลทอง
วัดพิกุลทองเป็นวัดเก่าแก่ไม่ทราบประวัติผู้สร้างได้มีการบูรณะขึ้นใหม่อย่างดีในชั้นหลัง มีพื้นที่ทั้งหมด ๙ ไร่ ๙๐ ตารางวา อาณาเขตติดลำคลองด้านทิศใต้และทิศตะวันตกอีก ๒ ด้านติดพื้นที่ของเอกชน ซึ่งปัจจุบันทางวัดขอใช้เป็นทางเข้า-ออก
วัดไทย ในประเทศญี่ปุ่นจัดพิธีปฐมบรรพชาอุปสมบท สมโภชอุโบสถ 64 รูป
พิธีปฐมบรรพชาอุปสมบทและสมโภชอุโบสถ ณ วัดพระธรรมกายโทชิหงิ ประเทศญี่ปุ่น เนื่องในวาระอายุวัฒนมงคล 80 ปี หลวงพ่อธัมมชโย
วัดไร่ขิง
วัดไร่ขิงสร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๓ พื้นที่แต่ก่อนเป็นไร่ขิงของชาวจีน เมื่อวัดเกิดขึ้นจึงเรียกชื่อวัดตามกลุ่มชุมชนว่า "วัดไร่ขิง" ประวัติความเป็นมาของวัดไร่ขิงติดตามได้จากบทความนี้ค่ะ
วัดศรีสุทธาราม (วัดกำพร้า)
วัดศรีสุทธารามหรือวัดกำพร้า ซึ่งตั้งอยู่ริมปากอ่าวแม่น้ำท่าจีนวัด ณ ตำบลบางหญ้าแพรก อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร และมีศาลประดิษฐานพระรูปกรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ให้สักการะกราบไหว้
วัดคลองพระราม
วัดคลองพระราม พื้นที่หน้าวัดจรดลำคลองสาธารณะเป็นแนวยาว แต่เดิมวัดนี้เรียกกันว่า "วัดฆ้องคำราม"เมื่อมีการขุดคลองสรรพสามิตเมื่อปี ๒๔๘๒ วัดเป็นที่รู้จักมากขึ้น จึงเรียกชื่อวัดเพี้ยนไปเป็น "วัดคลองพระราม"
วัดเหนือ
วัดเหนือเป็นวัดเก่าแก่โบราณ ซึ่งตั้งอยู่ที่จังหวัดร้อยเอ็ด ได้รับการบูรณะปฏิสังขรณ์มาแล้ว สิ่งก่อสร้างและอาณาบริเวณที่เห็นถูกก่อสร้างไว้อย่างเป็นระเบียบแบบแผนงดงาม เป็นศูนย์รวมศรัทธาของชาวบ้านมาแต่โบราณกาล
จากหญ้าปล้อง สองข้างทาง สู่เส้นทาง สร้างวัดไทย
ภาพที่เห็นเหล่านี้ ทำให้นึกถึงเมืองไทยทันที ซึ่งไม่ได้หมายความว่า Homesick แต่กลับระลึกถึง “ผู้มีบุญ” ที่อยู่ เมืองไทย ที่กำลังสนุกสนาน บุญบันเทิง กับการสร้าง “โมดูล” ทำบุญสร้าง “หลังคา” มหารัตนวิหารคด แถมยังจะร่วมประกอบพิธี “เทคอนกรีตเสาค้ำฟ้า” ใน “วันครูวิชชาธรรมกาย” อีกด้วย เราจึงได้ข้อคิดในใจว่า. . .