มงคลที่ ๕ มีบุญวาสนามาก่อน - ในดีไม่มีเสียในเสียมีดี
การมองให้เห็นคุณค่าในทุกสิ่ง การรู้จักเลือกเอาแต่สิ่งที่ดี ที่มีประโยชน์จากสิ่งต่างๆ ออกมาใช้ จึงเป็นศิลปะอย่างหนึ่งที่สำคัญมาก และก็ต้องศึกษาธรรมชาติของทุกสิ่งให้กระจ่างแจ้ง จนสามารถสร้างสรรค์ทุกสิ่งได้อย่างเหมาะสม เพราะแม้ขยะเขายังเปลี่ยนมาเป็นปุ๋ยได้
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 57
พระเจ้าวิเทหราชได้สดับคำตอบของมโหสถ ก็ยิ่งทรงทราบชัดถึงความเป็นไประหว่างแพะกับสุนัขที่ได้ทอดพระเนตรเห็นผ่าน ทางช่องพระแกล จึงทรงเข้าพระทัยว่า ราชบัณฑิตทั้ง ๕ ล้วนแทงตลอดในปัญหาด้วยปัญญาของตนทั้งสิ้น
ทศชาติชาดก เรื่องมโหสถบัณฑิต ผู้ยิ่งด้วยปัญญาบารมี ตอนที่ 92
มโหสถบัณฑิตจึงสรุปเพื่อยืนยันมติของตนอีกครั้งว่า “ถูกแล้วท่านอาจารย์ ความเป็นคนจริง พูดจริง ทำจริง เป็นคุณสมบัติที่ถือเป็นหลักของคนได้แน่” แล้วอาจารย์เสนกะก็รุกถามถึงประเด็นสำคัญต่อไปว่า “ผู้ดำรงมั่นอยู่ในความสัตย์จริงแล้ว ควรจะปฏิบัติอย่างไรต่อไป”
Will the friendship amongst drinkers last long?
People like to say that going out to drink alcohol with friends is a means to strengthen unity and promote relationships. It is regarded as promoting friendship. I just wonder if the friendship amongst drinkers will last long.
Dhamma For People :- A true friend can sacrifice his life for you
The good story about true friend who can sacrifice his life to his friend although it is an animal.
กุสนาฬิชาดก-ชาดกว่าด้วยประโยชน์ของการคบมิตร
ณ บ้านมหาเศรษฐี นามอนาถบิณฑิกะ ได้เกิดเรื่องวุ่นวายขึ้น เมื่ออนาถบิณฑิกะเศรษฐีได้คบหากับมิตรผู้ที่ฐานะต่ำต้อยกว่า และได้แต่งตั้งให้บุรุษผู้นั้นเป็นผู้ดูแลสมบัติทั้งหมดของตน เหล่าบรรดาญาติพวกพ้องของท่านอนาถบิณฑิกะต่างแสดงความไม่พอใจ และขอให้ท่านเศรษฐีเลิกคบหากับมิตรผู้นั้น
บทความให้กำลังใจ ตอนที่ 13
บทความให้กำลังใจ ไม่ว่าจะเป็นข้อความเพลงให้กำลังใจ กลอนเพลงให้กำลังใจ เพลงให้กำลังใจ หรือจะเป็นคำคมกำลังใจ เพื่อให้ทุกคนได้มีกำลังใจที่สูงขึ้นในยามที่อาจท้อแท้ไปบ้าง
ให้ใจอย่าให้เจ็บ
สังเกตอย่างไรคนไหนไว้ใจได้หรือไว้ใจไม่ได้-รวมทั้งจะป้องกันจากคนที่ชอบหักหลังได้อย่างไร
ลักษณะมหาบุรุษ (๓)
เวลาธรรมกาย เป็นเวลาที่ทรงคุณค่าที่ทุกท่านจะได้เจริญสมาธิภาวนาร่วมกัน เพื่อกลั่นกาย วาจา ใจของเรา
ปชาบดีเถรี ผู้รัตตัญญู (๒)
ความชั่วทางกาย วาจา และใจของบุคคลใดไม่มี เราเรียกบุคคลนั้น ผู้สำรวมแล้วโดยฐานะ ๓ ว่า เป็นพราหมณ์