ทำถูกหลักวิชชา นำพาสู่สวรรค์
“ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สัปปุริสทานมี ๘ ประการ คือ ให้ของสะอาด ให้ของประณีต ให้ตามกาล ให้ของสมควร เลือกให้ ให้เนืองนิตย์ ให้ด้วยจิตที่ผ่องใส และให้แล้วก็ดีใจ”
ขอเชิญร่วมบุญ "บูชาธรรมมหาปูชนียาจารย์" อยู่ในบุญ ฉบับพิเศษ
บูชาบุคคลที่ควรบูชา เรียนเชิญผู้มีบุญทุกท่าน"บูชาธรรมมหาปูชนียาจารย์"อยู่ในบุญ ฉบับพิเศษ
ส่องธรรม ล้ำภาษิต : ตกทุกข์ก็สุขได้
ทุกฺเข สุขานิ วินฺทติ คนมีปัญญา เมื่อถึงคราวตกทุกข์ ก็ยังหาสุขได้ (๒๗/๒๔๔๔)
ส่องธรรม ล้ำภาษิต : ความรู้ที่เกิดแก่คนพาล
วิชาการความรู้ต่าง ๆ เป็นสิ่งควรรู้ ควรศึกษา เป็นของกลางที่มนุษย์ทุกคนเป็นเจ้าของได้ แต่เมื่อคนพาลได้ความรู้เหล่านั้นมา กลับนำมาใช้ในทางที่ผิด แล้วบั่นทอนความดีของเขาเอง ด้วยมิจฉาทิฐิที่เต็มในใจคนพาล
ชีวิตคุณเริ่มต้นหรือยัง
แม้ชีวิตจะเดินทางมายาวไกล ทั้งทางบก ทางน้ำทางอากาศ หรือไปไกลถึงดวงดาว ก็ยังไม่ได้ขึ้นชื่อว่า “เดินทาง” เพราะชีวิตไม่ได้เริ่มต้นด้วยระยะทาง ตัวเลข หรือกาลเวลา ดังที่เคยเข้าใจกัน
การบูชาพระบรมสารีริกธาตุด้วยจิตเลื่อมใส
การบูชาพระบรมสารีริกธาตุด้วยจิตเลื่อมใสนี้มีอานิสงส์เสมอกับการบูชาพระสัมมาสัมพุทธเจ้าในขณะที่พระองค์ทรงมีพระชนม์อยู่ และด้วยอานิสงส์อันไม่มีประมาณนี้เอง หลังจากละโลกแล้ว ผลบุญนี้จะช่วยปิดอบาย ได้เสวยทิพยสมบัติในเทวโลก และครองจักรพรรดิสมบัติในมนุษยโลก วนเวียนอยู่แต่ในสุคติภูมิ จนกระทั่งบรรลุมรรคผล นิพพาน
วัดพระธรรมกายคอร์ซัวร์ ลุสท์สโกว ดวงแก้วแห่งความสมปรารถนาของชาวเดนมาร์ก
“เดนมาร์ก” เป็นอีกประเทศหนึ่งที่พระภิกษุจากวัดพระธรรมกายไปเผยแผ่พระพุทธศาสนา และมีผลงานอยู่ในระดับ A+ ซึ่งหลายคนคงเคยได้ยินหลวงพ่อธัมมชโยกล่าวชมใน DMC จนทำให้ “วารสารอยู่ในบุญ” เกิดความสนใจต้องตามไปสัมภาษณ์...
ส่องธรรม ล้ำภาษิต : ไม่ละทิ้งธรรม
บัณฑิตย่อมไม่ประพฤติกรรมชั่ว เพราะเหตุแห่งสุขตน สัตบุรุษอันทุกข์ถูกต้อง แม้พลาดพลั้งไป ก็ไม่ยอมละธรรม เพราะฉันทาคติและโทสาคติ
ส่องธรรม ล้ำภาษิต : น้อยนัก สั้นนัก
อปฺปํ วต ชีวิตํ อิทํ ชีวิตนี้น้อยนัก ชีวิตนี้สั้นนัก คนประมาทมักคิดว่าตนมีเวลามากมาย ทำเหมือนชีวิตตนเป็นอมตะ ไม่มีหมดอายุ ไม่มีวันตาย แท้จริงแล้วทุกสรรพสิ่งล้วนไม่จีรังเที่ยงแท้
วันครูผู้ค้นพบวิชชาธรรมกาย
วันเพ็ญขึ้น 15 ค่ำเดือน 10 ของทุกปีเป็นวันที่เราจะนึกถึง พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) หรือหลวงพ่อวัดปากน้ำ ท่านได้สละชีวิตในการนั่งสมาธิจนเข้าถึงธรรมกาย