ปวารณา มีความหมายว่าอย่างไร
ปวารณา (อ่านว่า ปะ-วา-ระ-นา) มีความหมาย ๒ อย่างคือ......
วัดพระธรรมกาย จัดพิธีลอยกระทงธรรม
วัดพระธรรมกาย จังหวัดปทุมธานี ได้จัดพิธีลอยกระทงธรรม และชิตังเมสวดธัมมจักกัปปวัตตนสูตร 5,899,999,999 จบ
มงคลที่ ๖ ตั้งตนชอบ - รู้เท่าไม่ถึงการณ์ (๓)
พระราชารู้สึกกลัวในกาเมสุมิจฉาจารที่พระองค์กำลัง จะล่วงละเมิด ทรงเริ่มเกิดความสังเวชสลดพระทัย และอยากจะช่วยเปรตให้เสวยสุข จึงตรัสถามว่า "ทำอย่างไรท่านจึงจะได้เครื่องนุ่งห่ม ขอจงบอกเราเถิด หากเราช่วยท่านได้ เราก็ยินดี และเพื่อเป็นการพิสูจน์ว่า ผลแห่งกรรมดีสามารถอุทิศให้ได้"
ถึงจะท่องจำตำราได้น้อย แต่ประพฤติชอบธรรม
ถึงจะท่องจำตำราได้น้อย แต่ประพฤติชอบธรรม ละราคะ โทสะ และโมหะได้ รู้แจ้งเห็นจริง มีจิตหลุดพ้น
บทสวดมนต์ทำวัตรเย็น
บทสวดมนต์ทำวัตรเย็น วิดีโอสวดมนต์ทำวัตรเย็น MP3 บทสวดมนต์ทำวัตรเย็น ดาวน์โหลดได้
มงคลที่ ๓ บูชาบุคคลที่ควรบูชา - ใจที่เลื่อมใสปิดอบายภูมิ
ในยุคนั้น พระสุสัญญกเถระบังเกิดในตระกูลมีชื่อเสียงตระกูลหนึ่ง เมื่อเจริญวัยขึ้นได้ฟังคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธ เจ้า ที่ตรัสให้เห็นภัยในวัฏสงสาร และอานิสงส์ของการทำใจให้เลื่อมใส ท่านเกิดศรัทธาอย่างยิ่งจึงคิดว่า เวลาชีวิตของมนุษย์นี้ ประเดี๋ยว ก็วันประเดี๋ยวก็คืน ควรที่เราจะรู้จักจับแง่คิดในการเอาบุญ รู้จักระวังไม่ให้อกุศลบังเกิดขึ้นในใจ ตั้งแต่นั้นมา ท่านตั้งใจสำรวมระวังตลอดเวลา ไม่ให้อกุศลทั้งหลายเข้ามาในใจของตน
พระพุทธเจ้าเป็นอจินไตย
พระพุทธเจ้าเป็นอจินไตย พระธรรมของพระพุทธเจ้าก็เป็นอจินไตย วิบากของเหล่าชนผู้เลื่อมใสในพระพุทธเจ้า และพระคุณของพระองค์ ก็เป็นอจินไตย
มงคลที่ ๖ ตั้งตนชอบ - สู่เส้นทางนิพพาน
พระบรมศาสดาประทานพระโอวาทว่า "อานนท์ เธอเป็นผู้ที่ได้ทำบุญไว้ดีแล้ว ในบรรดาพุทธอุปัฏฐากทั้งหลายในภัทรกัปนี้ เธอเป็นยอดของอุปัฏฐากเหล่านั้น เพราะฉะนั้น เธอจงหมั่นประกอบความเพียรเถิด จักเป็นผู้หลุดพ้นจากกิเลสอาสวะในภพชาตินี้" แล้วท่านพระอานนท์ ท่านได้บรรลุธรรมโดยขณะที่กำลังเองหลังลงนอน เรื่องราวเป็นอย่างไรนั้น
มงคลที่ ๑๖ ประพฤติธรรม - ทำอย่างไรถึงมีความสุข
วิธีการง่ายๆ ที่จะทำให้ทุกข์ทั้งหลายมากล้ำกรายเราไม่ได้ คือ การปฏิบัติตามหลักธรรมที่พระบรมศาสดาทรงประทานไว้แก่พระอรหันตสาวก ๑,๒๕๐ องค์ในวันมาฆบูชาว่า สพฺพปาปสฺส อกรณํ การไม่ทำบาปทั้งปวง เพราะผลของบาปคือความทุกข์ ตั้งแต่งดเว้นจากกรรมกิเลส ๔ ประการ คือ
ตัณหาไม่สิ้นสุด
โลกอันตัณหาย่อมนำพาไป อันตัณหาย่อมผลักไสไป โลกทั้งหมดเป็นไปตามอำนาจของธรรมอย่างหนึ่ง คือตัณหา บัณฑิตพึงรู้โทษของตัณหาว่า เป็นเหตุให้เกิดทุกข์ พึงเป็นผู้ปราศจากตัณหา ไม่ถือมั่น มีสติอยู่ทุกเมื่อ