ความแตกต่างของพระพุทธเจ้าแต่ละพระองค์
พระพุทธเจ้าแต่ละพระองค์ทรงมีความแตกต่างกันบางประการ เช่น พระชนมายุ พระสรีระ เวลาบำเพ็ญทุกกิริยาในพระชาติสุดท้าย ความต่างแห่งพุทธรังสี ความต่างแห่งตระกูล เป็นต้น
นักวิชาการชี้"ไขมันทรานส์"ร้าย "เนย-พาย-ยีสต์-โดนัท-เค้ก"เพียบ
มงคลที่ ๕ มีบุญวาสนามาก่อน - มหาสมบัติของผู้มีบุญ
ดูเถิดว่า บุญนี่สำคัญจริงๆ มีพลานุภาพยิ่งกว่าสิ่งใดๆ ทั้งสิ้น แม้พระบรมศาสดายังตรัสย้ำว่า "ใครมีบุญมาก สิ่งที่ดีมีสิริมงคลทั้งหลายจะไปอยู่กับผู้มีบุญมาก บุญจะดึงดูดสิริ ทั้งหลายมา ใครจะลักเอาไปไม่ได้ เป็นของอสาธารณะ"
ความวิเศษสุดของพระพุทธศาสนา
ภิกษุผู้ตั้งอยู่ในศีล สำรวมในอินทรีย์ทั้งหลาย รู้จักประมาณในโภชนะ หมั่นประกอบความเพียร ภิกษุผู้มีปกติพากเพียรอยู่อย่างนี้ ไม่เห็นแก่นอน ไม่เกียจคร้านทั้งกลางวันและกลางคืน เจริญกุศลธรรมเพื่อบรรลุคุณอันเกษมจากโยคะ ผู้ยินดีในความไม่ประมาท มีปกติเห็นภัยในความประมาท เป็นผู้ไม่ควรเพื่อความเสื่อม ย่อมเป็นผู้ปฏิบัติใกล้พระนิพพานทีเดียว
มงคลที่ ๖ ตั้งตนชอบ - การตั้งตนไว้ชอบ
พราหมณ์ผู้หนึ่งชื่อ ภารทวาชะ เป็นมิจฉาทิฏฐิ อาศัยอยู่ในกรุงราชคฤห์ เขาไม่มีความศรัทธาเลื่อมใสในพระรัตนตรัย หากใครกล่าวเพียงแค่ว่า "พุทโธ ธัมโม สังโฆ" เขาจะรีบปิดหู จิตใจของเขานั้นแข็งกระด้างเช่นกับตอตะเคียน แต่พราหมณีผู้เป็นภริยาชื่อ ธนัญชานี ได้บรรลุเป็นโสดาบัน มีศรัทธาเลื่อมใสมั่นคงในพระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ เมื่อสองสามีภรรยาศรัทธาต่างกันเช่นนี้จะเป็นอย่างไร
จันทกุมาร บำเพ็ญขันติบารมี (๔)
สัตบุรุษทั้งหลายบรรเทาความทุกข์อันยากที่จะอดทนได้ด้วยความสุข เพราะเป็นผู้มีจิตเยือกเย็นยิ่งนัก ในความสุข และทุกข์ทั้ง ๒ อย่าง ย่อมเป็นผู้มีจิตเป็นกลาง ทั้งในความสุขและทุกข์
พระปิลินทวัจฉะ (๑)
สัตว์ทั้งปวงซึ่งเป็นมิตรและมิใช่มิตร ย่อมไม่เบียดเบียนเรา เราเป็นที่รักของสัตว์ทุกจำพวก นี้เป็นผลแห่งบุญกรรม
วัดไร่ขิง
วัดไร่ขิงสร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๓ พื้นที่แต่ก่อนเป็นไร่ขิงของชาวจีน เมื่อวัดเกิดขึ้นจึงเรียกชื่อวัดตามกลุ่มชุมชนว่า "วัดไร่ขิง" ประวัติความเป็นมาของวัดไร่ขิงติดตามได้จากบทความนี้ค่ะ
ศูนย์วัดนพรัตนาราม เปิดอบรมอุบาสิกาแก้วหน่ออ่อน
ศูนย์อบรมอุบาสิกาแก้ววัดนพรัตนาราม ได้จัดพิธีเปิดโครงการบวชอุบาสิกาแก้วหน่ออ่อน 1 ล้านคน รุ่นที่ 4 ณ ศาลาพุทธานุภาพ วัดนพรัตนาราม ตำบลนพรัตน์ อำเภอหนองเสือ จังหวัดปทุมธานี
วิธุรบัณฑิต บำเพ็ญสัจบารมี (๕)
มนุษย์ที่เกิดมา ล้วนมีวัตถุประสงค์เพื่อมาสร้างบารมี มาปฏิบัติธรรม เพื่อให้เข้าถึงพระธรรมกายภายใน