พระวนวัจฉะผู้อยู่ในป่า
ความเสวยอารมณ์เกิดขึ้นเพราะมโนสัมผัสเป็นปัจจัย เช่นเป็นสุขก็ดี เป็นทุกข์ก็ดี ไม่ใช่ทุกข์ไม่ใช่สุขก็ดี เมื่อเบื่อหน่ายในความเสวยอารมณ์นั้น ย่อมคลายความกำหนัด เมื่อคลายความกำหนัด จิตย่อมหลุดพ้น เมื่อจิตหลุดพ้นแล้ว ก็มีญาณรู้ว่าหลุดพ้นแล้ว พระอริยสาวกย่อมทราบชัดว่าชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์ได้อยู่จบแล้ว กิจอื่นที่ควรทำ ได้ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นอีกเพื่อความเป็นอย่างนี้ มิได้มีอีกต่อไป
ทศชาติชาดก เรื่องสุวรรณสาม ผู้ยิ่งด้วยเมตตาบารมี ตอนที่ 12
...ข้าพระองค์ขอทูลถามพระองค์ว่า พระองค์ยิงข้าพระองค์แล้ว ไยจึงซ่อนพระองค์อยู่ เสือเหลืองถูกฆ่าเพราะหนัง ช้างถูกฆ่าก็เพราะงา แล้วข้าพระองค์เล่า เป็นผู้ควรถูกยิงด้วยเหตุอะไร
ศาสดาเอกของโลก (2)
ชนเหล่าใดเลื่อมใสในพระพุทธเจ้า ชนเหล่านั้นชื่อว่า เลื่อมใสในสิ่งที่เลิศ ก็วิบากอันเลิศย่อมมีแก่บุคคลผู้ที่เลื่อมใสในสิ่งที่เลิศ...
บ่อเกิดแห่งความสุข
ศีลเป็นประดุจฐานที่ตั้งอันมั่นคงที่จะทำให้ชีวิตดำรงอยู่ได้อย่างปลอดภัยและมีชัยชนะ กาย วาจา ที่ได้รับการอบรมในกรอบของศีลอย่างดีแล้ว จะก่อให้เกิดพลังใจที่ตั้งมั่นผ่องใสเป็นปกติ ผู้รักษาศีลจึงเป็นผู้ที่มีความสุขในทุกช่วงของชีวิต
มงคลที่ ๓๔ ทำพระนิพพานให้แจ้ง - ผู้ข้ามพ้นวัฏฏะ
ครั้นพระบรมศาสดา ทรงแก้ปัญหาอันลุ่มลึกที่ปุณณกะได้ทูลถามแล้ว ปุณณกะเป็นผู้มีดวงปัญญาสว่างโพลง เป็นปัญญาบริสุทธิ์ที่เข้าใจเนื้อความของพระผู้มีพระภาคเจ้าได้อย่างแจ่มแจ้ง ท่านมีธรรมจักษุบังเกิดขึ้น ทั้งจักขุ ญาณ ปัญญา วิชชา อาโลโก แสงสว่างที่ไม่มีประมาณได้ขจัดความมืดในจิตใจของท่านให้หมดสิ้นไป จนสามารถรู้แจ้งเห็นจริงในสรรพสิ่งทั้งหลายไปตามความเป็นจริงได้ และกิเลสอาสวะถูกขจัดไป สิ้นเชื้อไม่เหลือเศษ ได้บรรลุเป็นพระอรหันต์ในครั้งนั้น
สัตถันตรกัป ๗ วัน
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เราไม่เล็งเห็นแม้กำลังสักอย่างหนึ่ง อันข่มได้แสนยาก เหมือนกำลังของมารเลย ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุญจะเจริญขึ้นได้ เพราะเหตุที่ถือมั่นในกุศลธรรมทั้งหลาย
สักกปัญหสูตร ตอนที่๑ ( ฤาจะสิ้นท้าวสักกะ )
การที่จะดำรงภาวะของความเป็นมนุษย์ ให้บริสุทธิ์บริบูรณ์นั้น เป็นสิ่งที่ทำได้ยาก เพราะจะต้องดำรงตนให้รอดปลอดภัยจากอบายภูมิ
ทานให้ผลในปัจจุบัน
หากมีคำถามว่า ทานให้ผลในปัจจุบันด้วยหรือไม่ ?
กิจกรรมเพื่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ระหว่างกรกฎาคม – กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๓
กิจกรรมเพื่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ โดยวัดพระธรรมกาย และมูลนิธิธรรมกาย ระหว่างกรกฎาคม – กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๓
มงคลที่ ๘ มีศิลปะ - แก้ปัญญาหาด้วยปัญญาอันลึกซึ้ง (๓)
พระราชาจึงตรัสถามนายคามณิจันท์ว่า "แล้วความจริงมันเป็นอย่างไรล่ะ ท่านจงเล่ามาซิ" เขาได้เล่าเรื่องราว ทั้งหมดไปตามความเป็นจริง ตั้งแต่ที่ยืมโคไปแล้ว จนเอามาส่งคืน แต่ยังไม่ได้บอกเจ้าของเพราะเจ้าของโคกับภรรยากำลังทานข้าวอยู่ และเจ้าของก็เห็นแล้วว่า โคเข้าบ้านไปแล้ว แต่ตอนที่โคหายไปนั้น หายไปตอนกลางคืน ซึ่งไม่รู้ว่าใครขโมยไป ส่วนพระราชาจะตัดสินอย่างไรนั้น