Skill in knowledge
“Since the time when we were born we have found ourselves surrounded
การทำสมาธิภาวนาเพื่อให้เข้าถึงพระธรรมกาย
การทำสมาธิภาวนาเพื่อให้เข้าถึงพระธรรมกาย เป็นการปฏิบัติตามหลักทางสายกลาง โดยการฝึกใจให้หยุดนิ่ง อยู่ภายในกลางกายของเรา(ศูนย์กลางกายฐานที่ 7)อย่างต่อเนื่อง ในอารมณ์ที่สบาย เป็นการดึงใจซัดซ่านไปในอารมณ์ต่างๆในความคิดต่างๆ
Carefulness In All Dhamma.
The nature of a mind is always thinking and wandering. Normally one’s mind is often unconscious and indulges in the five sensual pleasures namely: forms, odors, sounds and tangible objects that usually tempt one to do bad deeds with his/her body, speech and mind.
“สัมมา อะระหัง” ที่สุดแห่งถ้อยคำ
“ถ้าใจใส ใจสบาย ทำ อะไรก็สำ เร็จ ถ้าใจอยู่ฐานที่ 7 ทำ อะไรก็สำ เร็จอย่างสบาย ๆ”
สมาธิ จุดเริ่มต้นเรียนรู้ที่ดีพ่อแม่ ต้องปลูกฝังแต่ เยาว์วัย
5 วิธี พิชิตใจ เลิกเหล้าเข้าพรรษา
ในช่วงเข้าพรรษา 3 เดือนนี้ หลายท่านคงตั้งปณิธานเอาไว้ว่าจะงดเหล้า เลิกเบียร์ ละเว้นอบายมุข วันนี้จึงมีคำแนะนำในฝึกจิตใจเพื่อช่วยในการเลิกดื่มเหล้ามาฝาก
๔๐ วิธี เพื่อเข้าถึงพระธรรมกาย
ผู้ใดแล มีศรัทธาตั้งมั่นเกิดขึ้นแล้วแต่ รากแก้วคืออริยมรรค ประดิษฐานมั่นคง อันสมณพราหมณ์ เทวดา มาร พรหม หรือผู้ใดผู้หนึ่งในโลก ไม่พรากไปได้ ควรเรียกผู้นั้นว่า เป็นบุตรเกิดแต่พระอุระ เกิดแต่พระโอฐของพระผู้มีพระภาค เป็นผู้เกิดแต่พระธรรม เป็นผู้ที่พระธรรมเนรมิตขึ้น เป็นผู้รับมรดกพระธรรม ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะคำว่า ธรรมกาย ก็ดี ว่าพรหมกาย ก็ดี ว่าธรรมภูต ก็ดี ว่า พรหมภูต ก็ดี เป็นชื่อของตถาคต
คิด พูด ทำ อย่างไหนบาปที่สุด
อยากทราบว่าการ คิดไม่ดี พูดไม่ดี ทำไม่ดี อย่างไหนจะเป็นบาปมากที่สุดครับ
สมาธิ ตอนที่ 3 อธิบายเรื่องการหลับตาและการวางใจ
การนั่งสมาธิ อธิบายเรื่องการหลับตาและการวางใจในการทำสมาธิ การนั่งสมาธินั้น ต้องประคองใจอย่างใจเย็นๆ สบายๆ และมีสติ คือ รู้ตัวอย่างเต็มที่ เป็นความสบายผ่อนคลายที่คุณยังตื่นมีสติร้อยเปอร์เซนต์
มงคลที่ ๒๘ เป็นคนว่าง่าย - การฝึกตน บนเส้นทางอริยะ
ในสมัยพุทธกาล พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสถามครูฝึกม้าชื่อ เกสี ที่ไปเข้าเฝ้าพระองค์ว่า “ดูก่อนเกสี ใครๆก็รู้ว่าท่านเป็นครูฝึกม้าฝีมือดีคนหนึ่ง ท่านฝึกม้าอย่างไรเล่า” นายเกสีกราบทูลว่า “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ การฝึกม้าของข้าพระองค์มี ๓วิธี คือ วิธีแรก ข้าพระองค์จะฝึกด้วยวิธีละม่อม ค่อยเป็นค่อยไป วิธีที่สอง ฝึกด้วยวิธีรุนแรง และวิธีสุดท้ายฝึกผสมกันทั้งสองวิธี”