แนะนำ ประเทศไซปรัส
ไซปรัส มีประวัติศาสตร์ยาวนานกว่า 10,000ปี ผ่านช่วงเวลาที่เจริญรุ่งเรืองมานับครั้งไม่ถ้วน เคยเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรที่ยิ่งใหญ่เช่น เปอร์เซีย อัซซีเรีย อียิปต์ และโรมัน เป็นจุดที่พระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราช เดินทางมาวางแผน ก่อนที่จะพิชิตโลกตะวันออก
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๐)
การไปร่วมสัมมนาครั้งนี้ สืบเนื่องมาจากการที่สถาบันวิจัยนานาชาติธรรมชัยได้ร่วมลงนามทำสัญญาความร่วมมือ (MOU) กับทางวิทยาลัยสงฆ์นครน่านฯ เฉลิมพระเกียรติฯ ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๗ และจากการลงนาม MOU นี้ ทำให้เรามีกิจกรรมร่วมกันหลาย โครงการแต่เน่อื งจากผู้เขียนยังนำเสนอบทความเส้นทางเผยแผ่พระพุทธศาสนาไม่สิ้นสุด จึงจะขอนำเสนอผลงานที่เกิดขึ้นจากความร่วมมือของทั้ง ๒ ฝ่ายในอนาคต ในโอกาสนี้ขอเสนอบทความต่อจากฉบับที่แล้ว ดังนี้
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๔)
ผู้เขียนและคณะนักวิจัยของสถาบันดีรี (DIRI) ได้นำเสนอเส้นทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนามาอย่างต่อเนื่องประจำทุก ๆ เดือนผ่านมาได้ ๓ ฉบับแล้ว แต่การเผยแผ่พระพุทธศาสนายังมีเรื่องราวอีกมาก ในฉบับนี้ผู้เขียนจึงขอนำเสนอ ประวัติของเส้นทางเผยแผ่พระพุทธศาสนา ต่อเนื่องจากฉบับที่แล้ว
ยื่นหนังสือเรียกร้องความเป็นธรรมแก่พระเทพญาณมหามุนี
คณะศิษยานุศิษย์วัดพระธรรมกาย เดินทางไปยื่นหนังสือแก่ผู้ตรวจการแผ่นดิน เพื่อขอความเป็นธรรมแก่พระเทพญาณมหามุนี เจ้าอาวาสวัดพระธรรมกาย
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๑)
ในการนำเสนอสาระโดยย่อของประวัติศาสตร์ที่ยาวนานถึง ๒,๖๐๐ ปี อย่างต่อเนื่องหลายฉบับจนถึงยุคปัจจุบัน ผู้เขียนขออนุโมทนากับท่านผู้อ่านที่ให้ความสนใจติดตามมาโดยตลอด และฉบับนี้ผู้เขียนก็ขอเสนอบทความต่อจากฉบับที่แล้ว
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๗)
ฉบับนี้ ผู้เขียนจะขอพาท่านผู้อ่านย้อนรำลึกประวัติศาสตร์ในช่วงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๓) สมัยนั้นมีกลอนเพลงยาวสรรเสริญพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยหมื่นพรหมสมพัตสรหรือนายมี มหาดเล็กในรัชกาล ซึ่งบรรยายถึงพระราชหฤทัยเลื่อมใสพระพุทธศาสนาของพระองค์ไว้ดังตอนหนึ่งว่า...
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๔)
ในชั้นนี้โดยรวมแล้วเราพบหลักฐานธรรมกายในประเทศไทยทั้งหมด ๑๔ ชิ้น แบ่งเป็นศิลาจารึก ๖ หลัก จารึกลานเงิน ๑ ชิ้นคัมภีร์จารึกใบลานหนังสือพับสารวม ๖ คัมภีร์และในรูปแบบหนังสืออีก ๑ เล่ม
คณะสงฆ์วัดพระธรรมกาย ร่วมพิธีสวดและฝังศพแด่โยมแม่ของหลวงพ่อ thich truc thai minh ณ ประเทศเวียดนาม
ผู้แทนคณะสงฆ์และเจ้าหน้าที่วัดพระธรรมกายและมูลนิธิธรรมกาย ได้ร่วมพิธีสวดและฝังศพโยมแม่ของหลวงพ่อ thich truc thai minh เจ้าอาวาสวัดบาหว่าง จ.ก๋วางนิญ ประเทศเวียดนาม
อดีตนักมวย ลาแฟนมาบวชไม่สึก
เรื่องราวของนักรบแห่งกองทัพธรรมท่านหนึ่ง...อดีตเคยเป็นนักมวยที่มี่ความสามารถ ชกชนะมากกว่าแพ้ ผ่านเวทีการชกมาอย่างโชกโชน...ท่านต้องกำพร้าพ่อตั้งแต่ยังเล็ก แต่ยังมีพ่อเลี้ยงให้ความอุปถัมภ์มาอย่างดี...เมื่อได้มาเจอกับหมู่คณะ จึงเกิดความศรัทธาอย่างแรงกล้า และในที่สุดก็ได้มาบวชสร้างบารมีกับหมู่คณะ...และกับคำถาม “คนที่เป็นนักมวยในระดับแชมป์ มีบุญหรือบาปใดส่งผลให้ได้เป็นแชมป์”...
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๖)
ผู้เขียนและคณะนักวิจัยของสถาบันดีรี (DIRI) เพิ่งเดินทางกลับจากประเทศนอร์เวย์และสหรัฐอเมริกา สืบเนื่องจากการลงนามสัญญาความร่วมมือทางวิชาการ ทั้งที่มหาวิทยาลัยออสโลและมหาวิทยาลัยวอชิงตันซึ่งทั้งสองสถาบันเป็นแหล่งที่มี ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Source) ของคัมภีร์พุทธโบราณอายุกว่า ๒,๐๐๐ ปี เป็นจำนวนมาก ที่ค้นพบในเขตคันธาระและแถบเอเชียกลาง ดังนั้นในฉบับนี้จึงขอนำเสนอเส้นทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในเขตคันธาระและแถบเอเชียกลาง