วัดพระธรรมกาย ย้อนไปเมื่อ 38 ปีที่แล้วเกิดอะไรขึ้น
12 มกราคม พ.ศ.2522 เป็นวันที่ "วัดพระธรรมกาย" ได้รับอนุญาตให้ตั้งเป็นวัดโดยสมบูรณ์ โดยได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา ในวันศุกร์ ขึ้น 15 ค่ำ เดือนยี่(2) ปีมะเมีย ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 96 ตอนที่ 15 เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2522
ประมวลภาพธรรมยาตรา ปีที่ 8 ประจำวันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2563
ประมวลภาพธรรมยาตรา ปีที่ 8 ประจำวันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2563 โครงการธรรมยาตรา เส้นทางพระผู้ปราบมาร ปีที่ 8 "รักษ์บวร รักษ์ศีล 5"
สถานที่ชมวัดสั่งสมบุญ 9 จุดเช็คอินสำคัญในวัดพระธรรมกาย จังหวัดปทุมธานี
สำรวจ 9 จุดเช็คอินสำคัญในวัดพระธรรมกาย จังหวัดปทุมธานี พร้อมกิจกรรมที่น่าสนใจภายในวัดที่ทำให้ทุกคนเกิดปิติใจ และสะสมบุญใหญ่ใน 1 วัน.
ภูเขาควาย
ติดตามเรื่องจริงที่เหนือจินตนาการ ของ พญานาค แห่งแม่น้ำโขง และภูเขาควาย หรือ ภูควาย สถานที่แห่งนี้มีความเกี่ยวข้องกับพระสัมมาสัมพุทธเจ้า อย่างไร ทำไม จึงมีผู้สำเร็จอยู่เป็นจำนวนมาก...
ร่วมสร้างหลังคามหารัตนวิหารคด
คัมภีร์ใบลานราษฎร์ ร่วมสืบศาสน์และชาติไทย
พระพุทธศาสนาเริ่มเข้ามาประดิษฐานในแผ่นดินสุวรรณภูมิเป็นครั้งแรก ราวปีพุทธศตวรรษที่ 3 เมื่อครั้งพระเจ้าอโศกมหาราชแห่งราชวงศ์เมารยะ มหาราชผู้ยิ่งใหญ่แห่งอินเดีย โปรดเกล้าฯ ให้พระโสณเถระและพระอุตตรเถระเดินทางจากแคว้นมคธมาเผยแผ่พระพุทธศาสนา ณ ดินแดนแถบนี้ ซึ่งช่วงเวลานั้นประเทศไทยเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรสุวรรณภูมิ ที่มีอาณาเขตกว้างขวาง และมีศูนย์กลางสำคัญอยู่ที่จังหวัดนครปฐ
พิธีเปิดธุดงคสถานหล่มสัก
คณะกัลยาณมิตรจังหวัดเพชรบูรณ์ ร่วมกันจัดพิธีเปิดธุดงคสถานหล่มสัก เพื่อใช้เป็นสถานที่จัดโครงการฟื้นฟูศีลธรรมโลก
วัดบรรพตมโนรมย์
วัดบรรพตมโนรมย์ "วัดผาชัน" หรือเรียกตามลำห้วยที่อยู่ใกล้วัดว่า "วัดห้วยผาชัน" อยู่ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดมุกดาหาร ต่อมาเมื่อพุทธศักราช ๒๕๑๗ จึงได้ขอตั้งชื่ออย่างเป็นทางการว่า วัดบรรพตมโนรมย์
เจ้าประคุณสมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ กับการพระศาสนา ด้านสาธารณูปการ
การพระศาสนา ด้านสาธารณูปการ ของสมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ (ช่วง วรปุญฺญมหาเถร ป.ธ.๙) จากหนังสือที่ระลึก ในโอกาสอายุวัฒนมงคล 90 ปี พรรษา 70
รองรับพระธรรม น้อมนำถวาย
พระไตรปิฎกบาลีหรือพระบาลีเป็นคัมภีร์พระพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาทที่บันทึกคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ในยุคแรกคำสอนของพระองค์เรียกโดยรวมว่าพระธรรมวินัย ต่อมาในภายหลังจึงแบ่งเนื้อหาออกเป็น ๓ หมวด คือ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก และพระอภิธรรมปิฎก