มโหสถบัณฑิต ตอนที่ ๗ ( ยอดนักสังเกต )
้าวสักกะไม่ยอมคืนรถ และอ้างว่าเป็นเจ้าของรถ เมื่อตกลงกันไม่ได้ ชาวบ้านที่เดินสวนทางมาเห็นเข้า จึงบอกให้ทั้งสองไปหามโหสถบัณฑิต เพื่อช่วยตัดสินปัญหาว่า ใครเป็นเจ้าของรถ ใครเป็นคนขโมยกันแน่
มงคลที่ ๗ เป็นพหูสูต - ปัญญาเพิ่มพูนเกียรติคุณ
"ยามคับขันย่อมต้องการคนกล้า ยามประชุมปรึกษาย่อมต้องการคนหนักแน่น ยามมีข้าวน้ำบริบูรณ์ย่อมปรารถนาผู้เป็นที่รัก ยามมีปัญหาย่อมปรารถนาบัณฑิตผู้มีปัญญา" พระสัมมาสัมพุทธเจ้าก็ทรงสรรเสริญพระอานนท์ว่าเป็นยอดพหูสูต ผู้มีปัญญาลึกล้ำ
Willpower
Wherever we are sad, dealing with a loss or a disappointment that causes sorrow and distress, we can meditate to keep our mind calm, focused and positive as well as to provide us with the willpower to continue.
มโหสถบัณฑิต ตอนที่ ๑๙ ( แก้ปัญหาเทพ )
ครั้งนี้ถึงตอนที่มโหสถบัณฑิตมารับราชการตามเดิมแล้ว และจะต้องตอบคำถามที่พระราชาทรงสดับมาจากเทวดา พระราชาได้ตรัสถามมโหสถบัณฑิตว่า เทวดาผู้สิงสถิตอยู่ที่เศวตฉัตร ได้ถามปัญหา ๔ ข้อ กับเรา เราไม่รู้คำตอบของปัญหา ๔ ข้อนั้น อาจารย์ทั้ง ๔ คน ก็ไม่รู้ เพราะฉะนั้น ท่านจงช่วยกล่าวแก้ปัญหาทั้ง ๔ ข้อ
การพัฒนาบุคคลากรด้วยปัญญา 3 ฐาน
ดร.วรภัทร์ ภู่เจริญ ได้เสนอวิธีการพัฒนาบุคลากรด้วยหลักปัญญา 3 ฐาน คือ ฐานกาย ฐานใจ ฐานความคิด ซึ่งแท้จริงแล้วนำมาจากหลักในพระพุทธศาสนานั่นเอง คือ ศีล สมาธิ ปัญญา ในเชิงบริหารนั่นเอง
พุทธบุตรต้องสวมหัวใจความเป็นพระแท้ด้วย “สัมมาอะระหัง”
ช่วงนี้เป็นฤดูกาลแห่งการเข้าพรรษา ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่สำคัญในการฝึกฝนอบรมตนเองของพระภิกษุให้เป็นพระแท้ที่สมบูรณ์พร้อมทั้งกิจวัตรกิจกรรม เพื่อนำพาไปสู่การทำให้แจ้งซึ่งพระนิพพาน โดยเฉพาะการฝึกฝนอบรมจิตถือเป็นการฝึกที่สำคัญที่สุดของพระ เพราะจิตที่สะอาดผ่องใสย่อมส่งผลให้ศีล สมาธิ ปัญญา และสมณสัญญาเต็มเปี่ยมบริบูรณ์ ซึ่งสิ่งที่จะช่วยให้การฝึกจิตเป็นไปอย่างก้าวหน้า รวดเร็ว ต้องอาศัยการภาวนา “สัมมาอะระหัง” กำกับตลอดเวลา
มงคลที่ ๓๖ จิตไม่โศก - หยุดใจเพื่อให้เป็นไทจากอารมณ์
พระราชาเห็นว่า การเข้าหาสมณะผู้สงบและรับฟังธรรมะจากท่าน คงจะทำให้ใจสงบขึ้นมาได้ จึงเสด็จพระราชดำเนินไปอารามที่พระนารทเถระจำพรรษาอยู่ พระเถระได้แสดงธรรมให้พระเจ้ามุณฑะว่า "ขอถวายพระพรมหาบพิตร ในโลกนี้มีฐานะอยู่ ๕ประการ ที่สมณพราหมณ์ เทวดา มาร พรหม หรือใครๆในโลกไม่พึงได้ ฐานะ ๕อย่างนั้นคือ
ใจหยุด สุดยอดปาฏิหาริย์
ภิกษุผู้ประกอบด้วยธรรม ๓ ประการ คืออิทธิปาฏิหาริย์ อาเทสนาปาฏิหาริย์ อนุสาสนีปาฏิหาริย์ ภิกษุนั้นแล เป็นผู้สำเร็จถึงที่สุด เป็นผู้ประเสริฐกว่าเทวดา และมนุษย์ทั้งปวง
นิพพานเป็นสุขอย่างยิ่ง
ความหิวเป็นโรคอย่างยิ่ง สังขารทั้งหลายเป็นทุกข์อย่างยิ่ง บัณฑิตทราบเนื้อความนั้นตามความจริงแล้ว พึงกระทำให้แจ้งซึ่งพระนิพพาน เพราะพระนิพพานเป็นสุขอย่างยิ่ง
The Noble Truth of the Cessation of Suffering # 4
In the Lord Buddha’s first sermon to the group of five initial disciples he advocated to steer between the extremes of sensual indulgence