มงคลที่ ๓๐ สนทนาธรรมตามกาล
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงตรัสชมพระเถระทุกรูปว่า วาจาของพระเถระทุกรูปต่างเป็นสุภาษิตเหมือนกัน เพราะทุกรูปปฏิบัติได้ตามปฏิปทาที่ตนเองพูด จากนั้นพระองค์ทรงพยากรณ์ว่า...“ภิกษุในศาสนานี้กลับจากบิณฑบาต ฉันภัตตาหารเสร็จแล้ว นั่งขัดสมาธิ ตั้งกายตรง ดำรงสติมั่นเฉพาะหน้าว่า ตราบใดที่จิตของเรายังไม่หมดความถือมั่น ยังไม่หลุดพ้นจากกิเลส ตราบนั้นเราจะไม่ลุกจากที่เลย ดูก่อนสารีบุตร ป่าโคสิงคสาลวันจะพึงงดงามด้วยภิกษุเห็นปานนี้แล”
บูชาข้าวพระ ณ บูธ dmc.tv
ทีมงาน dmc.tv ได้จัดกิจกรรมกับเหล่าบรรดาสมาชิกเว็บทั้งหลายในงานบุญวันอาทิตย์ต้นเดือน
วัดพระธรรมกายลอนดอน จัดปฏิบัติธรรมบ้านกัลยาณมิตร
คณะสงฆ์วัดพระธรรมกายลอนดอน ประเทศอังกฤษ ได้จัดปฏิบัติธรรมบ้านกัลยาณมิตร
มงคลที่ ๓๐ สนทนาธรรมตามกาล - เลิศเฉพาะทาง เลิศทุกทาง
พระเถระได้วิสัชนาว่า “ขอถวายพระพร ข้อที่ตรัสว่า พระมหาโมคคัลลานะ เลิศกว่าภิกษุทั้งหลายผู้มีฤทธิ์นั้นก็ถูก ข้อที่ว่าท่านถูกโจรทุบตีจนต้องนิพพานก็ถูก แต่การถูกทุบตีนั้น เป็นเพราะกรรมเข้ายึดไว้ คือ เป็นวิบากกรรมของท่าน ที่เคยถูกอกุศลเข้าสิงจิตให้กระทำปิตุฆาตและมาตุฆาตุ คือ ฆ่าพ่อฆ่าแม่มาก่อน ไม่มีใครหลีกเลี่ยงกฎแห่งการกระทำได้ สักวันย่อมต้องได้รับผลของกรรมนั้น”
หมอลำม่วย
เธอเกิดในครอบครัวชาวจีน แต่ไม่ต้องไหว้เจ้า มีโอกาสได้ไปวัด สวดมนต์ ฟังธรรม ฝึกนั่งสมาธิตั้งแต่ยังเล็ก แถมเธอยังชอบหมอลำเป็นอย่างยิ่ง...สุขภาพของเธอไม่ค่อยแข็งแรงมาตั้งแต่เด็ก พอโตเป็นผู้ใหญ่เธอมีอาการไทรอยด์เป็นพิษ คอพองโต หมอสันนิษฐานว่าเธอขาดไอโอดีน ทั้งๆที่เธอเป็นคนใต้ ทานอาหารทะเลอยู่เสมอๆ...เธอเคยจะถูกจับให้แต่งงาน ถูกทำเสน่ห์ แต่ก็สามารถประคองตัวถือพรหมจรรย์มาได้ จนได้มาเป็นอุบาสิกา สร้างบารมีอยู่ในวัดพระธรรมกาย จนถึงปัจจุบัน
ท่องอินเดีย จาริกธรรม
วันออกพรรษา 2567 ประวัติวันออกพรรษา วันออกพรรษามีความสำคัญอย่างไร
วันออกพรรษา 2567 ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11 ปีนี้ตรงกับวันพฤหัสบดีที่ 17 ตุลาคม พ.ศ.2567 ประวัติความเป็นมาของวันออกพรรษาเป็นอย่างไร เกิดอะไรขึ้นในวันออกพรรษาเมื่อสมัยครั้งพุทธกาล ข้อมูลวันออกพรรษาที่น่าสนใจหลายอย่าง รวมถึงบั้งไฟพญานาคในวันออกพรรษา
คำว่า ธรรมะ
ธรรมะ หมายถึง คำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าที่ปฏิบัติเพื่อจะให้เข้าถึงธรรมะภายใน คือ ดวงธรรมใส ๆ ซึ่งจะนำไปสู่พระธรรมกายภายใน ซึ่งเป็นที่พึ่งที่ระลึกที่แท้จริงของทุกคน
ฆราวาสธรรม
บุคคลใดผู้อยู่ครองเรือนประกอบด้วยศรัทธา มีธรรม ๔ ประการนี้ คือ สัจจะ ธรรมะ ธิติ จาคะ บุคคลนั้นแล ละโลกนี้ไปแล้ว ย่อมไม่เศร้าโศก